Page 194 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 194
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
(๒ ในกระบวนการ UPR ครั้งแรก ในปี ๒๕๕๕ ประเทศไทยรับข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ
หลายประการ อาทิ การรับรองความหลากหลายทางเชื้อชาติในสังคมไทย (เสนอโดยประเทศโอมาน) การเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ในการปฏิบัติตามนโยบายและมาตรการต่าง ๆ ที่คุ้มครองกลุ่มเปราะบางในสังคม ซึ่งรวมถึงกลุ่มเด็ก คนยากจน ชนกลุ่มน้อย ผู้อพยพ
(เสนอโดยเวียดนาม) การต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อเด็กและกลุ่มวัยรุ่นในสถานการณ์ที่เปราะบาง (เสนอโดยอุรุกวัย) และความพยายาม
ในการบัญญัติหรือออกกฎหมายให้ผู้หญิงมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้หญิงชนกลุ่มน้อยและคนพิการ
(เสนอโดยเกาหลีใต้) แต่มาตรการที่จะด�าเนินการตามข้อเสนอแนะยังไม่มีความชัดเจน
ในปี ๒๕๕๐ ประเทศไทยได้เห็นชอบกับข้อมติสมัชชาสหประชาชาติ
ที่ ๖๑/๒๙๕ รับรองปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของประชาชาติท้อง
ถิ่นดั้งเดิม (United Nations Declaration on the Rights of
Indigenous Peoples: UNDRIP) ซึ่งรับรองความเท่าเทียมกัน
ของประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิมกับประชาชาติอื่น ซึ่งได้รับความไม่
เป็นธรรมอย่างยาวนานจากการล่าอาณานิคมและการแย่งชิงที่ดิน
ดินแดนและทรัพยากร ปฏิญญาดังกล่าวจึงให้รัฐมีกฎหมายประกัน
สิทธิของประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิม อาทิ สิทธิในที่ดิน ดินแดนและ
ทรัพยากรซึ่งเป็นเจ้าของ ครอบครอง หรือได้ใช้ ได้มาตามประเพณี บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
เป็นต้น ห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติต่อประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิม
ให้เคารพภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิม วัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ เปิดพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้
ประเพณี การมีส่วนร่วมในการพัฒนา มีสิทธิในการก�าหนดเจตจ�านง การท�าความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์และสิทธิของกลุ่ม
ในการปกครองตนเองในกิจการภายในและท้องถิ่น สามารถก�าหนด จัดท�าข้อเสนอต่าง ๆ ล่าสุด ได้มีการพัฒนาและเสนอ
สถานะทางการเมืองได้อย่างเสรี รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม (ร่าง) พระราชบัญญัติสภาชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง
และวัฒนธรรม และส่งเสริมให้เกิดความสมานฉันท์ (harmony) แห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการ
และความร่วมมือระหว่างรัฐกับกลุ่มประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิม ปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) มีสาระส�าคัญในการให้มีการจัดตั้ง
บนพื้นฐานของความยุติธรรม ประชาธิปไตยการเคารพสิทธิมนุษยชน สภาชาติพันธุ์ฯ มีอ�านาจหน้าที่ในการจัดท�านโยบายและ
การไม่เลือกปฏิบัติและความสุจริตใจ หลังการรับรองปฏิญญา ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม
ดังกล่าว ได้เกิดกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ การศึกษา ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม พื้นที่ทางจิตวิญญาณ และ
ของกลุ่มชาติพันธุ์ โดยกลุ่มชาติพันธุ์ได้รวมตัวกันเป็นเครือข่าย สิทธิมนุษยชนของกลุ่มประชากรชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง
ชนเผ่าพื้นเมืองในประเทศไทย (คชท.) ปัจจุบันประกอบด้วย ในประเทศไทย ปัจจุบัน รัฐบาลยังมิได้บรรจุวาระการพิจารณา
๓๘ กลุ่ม มีการรวมกลุ่มของเครือข่ายเด็กและเยาวชนชนเผ่า (ร่าง) พระราชบัญญัติดังกล่าว และรัฐบาลไทยไม่รับรองการ
พื้นเมือง (เครือข่ายต้นกล้า) มุ่งสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับ ด�ารงอยู่ของ “ชนพื้นเมืองดั้งเดิม” ในประเทศไทย
(๓) ค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๔/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๗ และ ที่ ๖๖/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ มีวัตถุประสงค์
ในการปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกท�าลายทรัพยากรป่าไม้ และก�าหนดเป้าหมายว่าจะต้องพิทักษ์รักษาป่าไม้ให้มีสภาพสมบูรณ์
ให้ได้พื้นที่ป่าไม้อย่างน้อย ร้อยละ ๔๐ โดยค�าสั่งดังกล่าวได้ระบุชัดเจนว่า ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนผู้ยากไร้ ผู้ที่มีรายได้น้อย
และผู้ไร้ที่ดินท�ากินซึ่งได้อาศัยอยู่ในพื้นที่เดิมนั้น ๆ ก่อนค�าสั่งมีผลบังคับใช้ แต่ในทางปฏิบัติปรากฎว่าได้ส่งผลกระทบ
ต่อประชาชน รวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่เคยถือครองท�าประโยชน์ในที่ดินมาก่อน มีการข่มขู่ บังคับ จับกุม ไล่รื้อที่อยู่อาศัย
และท�าลายที่ท�ากิน ๒๗๑ นอกจากนี้ ในบางพื้นที่ก็มีความขัดแย้ง การแย่งชิงที่ดินจากธุรกิจหรือนโยบายการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ
ท�าให้เกิดเหตุการณ์ปะทะและฟ้องร้องด�าเนินคดีทางกฎหมาย การข่มขู่คุกคามกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ และการสูญหายของนักพิทักษ์
สิทธิมนุษยชนที่เป็นแกนน�าในการปกป้องสิทธิ
๒๗๑ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย ที่ ๓๒๓/๒๕๕๘
164