Page 198 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 198

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              >> สิทธิในการด�ารงอัตลักษณ์และพัฒนา

              คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เห็นชอบ   องค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้านและวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม
              หลักการ “แนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล” และมติเมื่อวันที่ ๓   และการส่งเสริมการฟื้นฟูประเพณีดั้งเดิม เป็นต้น ทั้งนี้
              สิงหาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบหลักการ “แนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิต  ในบางพื้นที่มีการเพิ่มสาระเรื่องอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์
              กะเหรี่ยง”  ซึ่งเป็นแนวทางในการด�าเนินการด้านความมั่นคง   ในหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียน ในส่วนของจังหวัดภูเก็ต
              ในที่อยู่อาศัย การประกอบอาชีพตามวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมได้    ที่มีแผนยุทธศาสตร์ที่จะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชาวเล
              การช่วยเหลือด้านสาธารณสุข การแก้ปัญหาสัญชาติ และ    ในด้านอื่น ทั้งด้านที่อยู่อาศัย การศึกษาและอาชีพ นอกจากนี้
              การส่งเสริมการศึกษา รวมถึงการจัดให้มีหลักสูตรท้องถิ่น  ยังมีพัฒนาหนังสือทักษะวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อ
              ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ซึ่งจากการติดตามการ  สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิถีวัฒนธรรมของชาวเล
              ด�าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว  กสม.  พบว่า    เพื่อลดปัญหาอคติทางชาติพันธุ์ด้วย อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณา
              หน่วยงานระดับท้องถิ่นได้มีการด�าเนินกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์   ถึงสภาพปัญหาดังกล่าวที่ยังเกิดขึ้นโดยทั่วไปแล้ว อาจกล่าวได้
              วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลและกะเหรี่ยง เช่น การรวบรวม   ว่ายังขาดผลส�าเร็จของการด�าเนินงานที่ชัดเจนหรือยั่งยืน



                ๔  การประเมินสถานการณ์

              ในการประเมินสถานการณ์ เพื่อให้เกิดการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ เห็นว่าควรมีข้อเสนอ  บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
              ในการด�าเนินการต่าง ๆ ดังนี้


              >> ด้านสิทธิการมีสถานะบุคคลทางกฎหมาย

              การแก้ไขปัญหาสถานะของบุคคล การรับรองสัญชาติว่าเป็น  ในการเข้าถึงสิทธิ ต้องเสียเงินมากขึ้น หรือบางรายถูกปฏิเสธ
              ประชาชนไทยมีความก้าวหน้าเป็นอันมาก กสม. พบว่า กลุ่ม  สิทธิตั้งแต่การรับค�าร้องหรือการไม่มีลายเซ็นผู้ใหญ่บ้านรับรอง
              ชาติพันธุ์หลายกลุ่มได้รับสัญชาติไทย และได้รับการรับรองสิทธิ  •  หลายแห่งพบว่า อาจมีการก�าหนดนโยบายการท�างาน
              พลเมืองโดยการออกบัตรประจ�าตัวให้  เกิดความตื่นตัวของหน่วย  ในระดับพื้นที่ที่อาจไม่สอดคล้องกับระเบียบและกฎหมายที่
              งานระดับท้องถิ่น ท�าให้ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานต่าง ๆ รวมทั้งสิทธิ  เกี่ยวข้อง เช่น การใช้การลงรายการสัญชาติไทยเป็นเงื่อนไข
              ในการท�างาน แต่ในภาพรวมของการด�าเนินงาน กสม. พบว่า การ  ของการปราบปรามยาเสพติด โดยปฏิเสธการรับค�าร้อง
              ด�าเนินการยังมีความล่าช้าและมีปัญหาอุปสรรคหลายประการ อาทิ
                                                                  ของครอบครัวผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และไม่อนุมัติลงรายการ
              •  ปัญหาการสื่อสารและการเข้าถึงการสื่อสารเนื่องจากอุปสรรค  สัญชาติไทยให้  โดยปฏิเสธการรับค�าร้องของครอบครัว
              ในด้านการเข้าใจภาษาไทยของกลุ่มชาติพันธ์ุ            ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และไม่อนุมัติลงรายการสัญชาติไทย

              •  การปฏิบัติงานในพื้นที่ระดับอ�าเภอมีมาตรฐานการปฏิบัติตาม  ให้ทั้งครอบครัว แม้ว่าบุตรที่ยังเป็นเด็กนักเรียนจะไม่เกี่ยวข้อง
              ระเบียบที่แตกต่างกัน บางแห่งให้ความเชื่อถือเฉพาะแต่เจ้าหน้าที่รัฐ   ด้วยก็ตาม เป็นต้น
              เช่น ก�านันหรือผู้ใหญ่บ้านในการเป็นพยานรับรองข้อเท็จจริงของ  ในระหว่างด�าเนินการรอรับรองสถานะ บุคคลเหล่านี้จะได้
              ชาวบ้านผู้ยื่นค�าร้องเท่านั้น ในบางพื้นที่ มีการเรียกพยานเอกสาร   รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานทั้งด้านการศึกษา การท�างาน
              เพิ่มเติม เช่น ก�าหนดว่าจะต้องมีทะเบียนส�ารวจบัญชีบุคคลในบ้าน   และการสาธารณสุข แต่ในทางปฏิบัติก็ยังพบข้อจ�ากัดใน
              ของกรมประชาสงเคราะห์ (ทร.ชข.) เป็นเอกสารแนบมาด้วย   การได้รับบริการจากรัฐ ทั้งด้านการศึกษาและการบริการ
              ท�าให้เกิดกระบวนการจัดท�า ทร.ชข. ฉบับที่อ้างว่าส�ารวจเมื่อปี    สาธารณสุข รวมทั้งข้อจ�ากัดของเสรีภาพในการเดินทางส�าหรับ
              ๒๕๒๘ - ๒๕๓๑ ซึ่งเป็นเอกสารที่ในระเบียบยอมรับ โดยมีค่าใช้จ่าย  บุคคลที่ยังไม่มีสถานะบุคคลทางกฎหมายที่จะต้องขออนุญาต
              รายหัวในอัตราต่าง ๆ กัน ซึ่งอาจใช้เป็นช่องทางการเอื้อประโยชน์  เดินทางออกนอกพื้นที่ที่ก�าหนด
              ให้คนบางกลุ่มโดยไม่สุจริต หรือท�าให้ประชาชนมีความยากล�าบาก









                                                                                                          168
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203