Page 189 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 189

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘




           ๓  สถานการณ์ในปี ๒๕๕๘


        รัฐบาลมีนโยบายและมาตรการที่ส�าคัญเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ  ต่างด้าวที่อายุไม่เกิน ๑๕ ปี ใน ๒๒ จังหวัดที่มีพื้นที่ติดทะเล
        ที่ส�าคัญเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น (๑) การลงนาม MOU    และกรุงเทพมหานคร ๔ จุด ครอบคลุม ๔ มุมเมือง ระหว่าง
        น�าเข้าแรงงานเวียดนาม ส�าหรับท�างานในกิจการประมง     วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
        และก่อสร้าง ในการประชุม Joint Cabinet Retreat :      เพื่อแก้ไขปัญหาการท�าการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน
        JCR เมื่อกรกฎาคม ๒๕๕๘ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลน      และไร้การควบคุม  (IUU)  (๓) การที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
        แรงงานในประเทศ (๒) การเปิดจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว    หลักการ ๒๕๒  การจัดระบบการจ้างคนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา
        (One Stop  Service)  ที่ประสงค์จะท�างานในกิจการแปรรูป   ลาว และกัมพูชาที่เข้ามาท�างานในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาล
        สัตว์น�้า (ทะเล) รวมถึงผู้ติดตามซึ่งเป็นบุตรของแรงงาน  ตามมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการท�างานของคนต่างด้าว
                                                             พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติที่เป็นระบบ
                                                             โดยได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การตรวจสุขภาพ
                                                             และประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๘
                                                             เพื่อให้แนวทางการด�าเนินการบริการสาธารณสุขแก่กลุ่มเป้าหมาย
                                                             มีประสิทธิภาพขึ้น อย่างไรก็ดี  พบว่าปัญหาแรงงานข้ามชาติ
                                                             มีลักษณะคล้ายคลึงกับปัญหาในปีที่ผ่านมาและยังเป็นปัญหาต่อ
                                                             เนื่องในปี ๒๕๕๘ สรุปได้ใน ๔ มิติ คือ






        >> มิติที่หนึ่ง สภาพการท�างาน

        แรงงานข้ามชาติโดยส่วนใหญ่มักจะไม่รู้ล่วงหน้าถึงสภาพ   ทั่วไป  เพื่อป้องกันมิให้มีการท�าการประมงโดยไม่ชอบ

        การท�างานของตน หลายคนท�างาน ๗ วันต่อสัปดาห์และไม่ได้รับ   ด้วยกฎหมาย รวมทั้งคุ้มครองสวัสดิภาพของคนประจ�าเรือ
                                 ๒๕๓
        ค่าจ้างท�างานล่วงเวลาจากนายจ้าง  นอกจากนี้ ยังพบว่าแรงงาน   และป้องกันการใช้แรงงานผิดกฎหมายในภาคการประมง
        ข้ามชาติประสบอุบัติเหตุในการท�างานสูง เนื่องจากไม่มีความ   อย่างไรก็ตาม  ไทยยังคงถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับที่  ๓
        ช�านาญในวัสดุอุปกรณ์และไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้    (Tier  3)  โดยรายงาน  TIP  Report  ระบุว่าประเทศไทย
        นอกจากนี้ ยังปรากฏข้อมูลว่าแรงงานข้ามชาติที่ท�างานเป็นลูกจ้าง   ยังไม่มีมาตรการตรวจสอบหรือคัดกรองเหยื่อหรือผู้เสียหาย
        ในบ้านเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิและมีปัญหาเรื่อง  ที่มีประสิทธิภาพ อาทิ วิธีการและระยะเวลาการสัมภาษณ์
        การได้รับการคุ้มครองสิทธิ เช่น เรื่องชั่วโมงการท�างาน การไม่ได้  หรือสอบถามเหยื่อหรือผู้เสียหาย การบริการล่ามแปลภาษา
        รับสวัสดิการขั้นพื้นฐาน การเสี่ยงต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ   ที่มีจ�ากัด  การขาดแคลนสถานที่ในการคัดกรองเหยื่อ
              ๒๕๔
        เป็นต้น                                              หรือผู้เสียหาย และปัญหาความไม่เข้าใจในเรื่องการค้ามนุษย์
        ส�าหรับสถานการณ์การค้ามนุษย์ ๒๕๕   ในส่วนที่เกี่ยวกับแรงงานข้าม  หรือสัญญาณซึ่งบ่งบอกถึงการค้ามนุษย์ของเจ้าหน้าที่ ปัญหา

        ชาติพบว่า ในปี ๒๕๕๘ รัฐได้ออกนโบยและมาตรการหลายอย่าง   ดังกล่าวท�าให้เกิดการคัดกรองเหยื่อหรือผู้เสียหายที่ไม่มี
        เพื่อแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะการออกพระราชก�าหนดการประมง   ประสิทธิภาพ บางกลุ่มไม่ได้รับการคัดกรอง หรือบางกลุ่มถูก
                                                                                                         ๒๕๖
        พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อจัดระเบียบการประมงในประเทศไทย และในน่านน�้า   ส่งกลับประเทศต้นทางโดยปราศจากการตรวจสอบและคัดกรอง



         ๒๕๒   เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
         ๒๕๓   ข้อมูลจากคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย เอกสารวิชาการล�าดับที่ ๑๑ สถานการณ์แรงงานอพยพข้ามชาติในประเทศไทย
         ๒๕๔   บทความ ชีวิตที่ถูกโขกสับของ “ลูกจ้างท�างานบ้าน” ดูรายละเอียดได้ที่ <www.posttoday.com/analysis/report/402037 อินทรชัย พาณิชกุล วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
         สืบค้นวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙
         ๒๕๕  รายละเอียดสถานการณ์การค้ามนุษย์อยู่ในบทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ ส้งคม และวัฒนธรรม
         ๒๕๖  เอกสารข้อมูลสนับสนุนการบรรยาย “ประชาคมอาเซียนกับการแก้ไขปัยหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย” ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


         159
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194