Page 192 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 192

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



                ๒  สถานการณ์ทั่วไป



              >> ข้อมูลประชากร

              ข้อมูลประชากรที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทยยังไม่มีความ
              สมบูรณ์ ยังไม่มีการระบุหรือสามารถแยกแยะตามเชื้อชาติ
              ได้ชัดเจน ไม่มีการจัดเก็บข้อมูลในมิติเชื้อชาติแบบองค์รวม
              เนื่องจากปัจจัยหลายประการ อาทิ ในทางวิชาการมโนทัศน์
              กลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ที่นักมานุษยวิทยาใช้ในการ
              จ�าแนกกลุ่มชนต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากแบบแผนพฤติกรรม
              มนุษย์หรือ “วัฒนธรรม” เป็นการจ�าแนกตัวกลุ่มชาติพันธุ์เอง
              ความหลากหลายภายในกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน เช่น การใช้ภาษา
              ในการสื่อสาร รวมถึงการเรียกชื่อตนเองของกลุ่มชาติพันธุ์  ๒๖๕
              และส่วนหนึ่งเกิดจากนโยบายของรัฐในอดีตที่ส่งเสริมการ   ซึ่งมักอาศัยอยู่ในพื้นที่สูงในภาคเหนือและภาคตะวันตก
              ผสมกลมกลืน (assimilation) ระหว่างคนเชื้อชาติไทยกับคน  ของประเทศ และกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ทั้งที่อาศัยอยู่บนพื้นที่
              เชื้อชาติอื่น ท�าให้ข้อมูลประชากรเชื้อชาติของแหล่งต่าง ๆ   สูงปะปนกับชาวเขา (เช่น ปะหล่อง ตองสู้ คะฉิ่น จีนฮ่อ
              มีความแตกต่างกันไปตามแนวทางหรือวัตถุประสงค์         ไทลื้อ ไทยใหญ่ มอญ และอื่น ๆ) ประมาณ ๗๐,๐๐๐ คน     บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
              ในการเก็บรวบรวม ในขณะที่กระทรวงมหาดไทยก�าหนดนิยาม   และกลุ่มชาวเลในภาคใต้ (มอแกนและอูรักลาโว้ย) ประมาณ
              “กลุ่มชาติพันธุ์” โดยทั่วไป หมายถึง ชนต่างเผ่า หรือต่าง  ๑๐,๐๐๐  คน ๒๖๘  นอกจากนี้  ยังมีคนต่างด้าวที่อาศัย
              เชื้อชาติ ที่อาศัยรวมกันกับชนเผ่าอื่นที่มีจ�านวนมาก ซึ่งอาจ   อยู่ในประเทศไทยอีกจ�านวนหนึ่ง โดยคนต่างด้าวบางกลุ่ม
              หมายรวมถึงกลุ่มบุคคลที่มิได้มีสัญชาติไทย และมีวัฒนธรรม   อยู่ในประเทศไทยโดยไม่มีสถานะที่ถูกต้องตามกฎหมาย
              ขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไป เข้ามาหรือพักอาศัยอยู่ใน  ประกอบด้วย ผู้ที่อพยพเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้านและ
              ประเทศไทยโดยวิธีการหรือลักษณะที่แตกต่างกัน ๒๖๖  อย่างไร  อยู่ในประเทศไทยมานานแล้ว (ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คน)
              ก็ดี  แม้การจ�าแนกกลุ่มชาติพันธุ์จะแตกต่างไปตามเงื่อนไข  แรงงานต่างด้าวจากเมียนมา ลาว และกัมพูชาที่เข้ามาท�างาน
              ของแต่ละหน่วยงาน แต่อาจกล่าวได้ว่าประชากรทั้งหมดใน  ในประเทศไทยโดยไม่ผ่านกระบวนการที่ถูกต้อง (ประมาณไม่
              ประเทศไทยประมาณ ๖๖ ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ   ต�่ากว่า ๑.๒ ล้านคน) ผู้หนีภัยการสู้รบจากประเทศเมียนมา
              มีเชื้อชาติไทย มีประชากรที่มีเชื้อชาติอื่นประกอบด้วย คนไทย  ที่อาศัยอยู่ในค่ายตามแนวชายแดนไทย - เมียนมา (ประมาณ
              เชื้อสายมลายูประมาณร้อยละ ๓ ของประชากร ๒๖๗  โดยส่วน  ๑.๑ แสนคน) ๒๖๙   คนไร้รัฐ และคนไทยพลัดถิ่น...
              ใหญ่อาศัยอยู่ใน ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย นอกจากนี้
              ยังมีชาวเขาเผ่าต่างๆ ประมาณ ๑๐ กลุ่มจ�านวนประมาณ ๙ แสนคน















              ๒๖๕    ดูรายละเอียดใน ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, ข้อมูลส�าคัญเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์: ความหมายและการเรียกชื่อ, http://www.sac.or.th/ databases/ ethnicredb/more_information.
              php, เข้าค้นเมื่อ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๙
              ๒๖๖    อ้างอิงตามการให้ความหมายของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ใน “รายงานผลการด�าเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญา ICERD” น�าเสนอต่อคณะกรรมการประจ�า
              อนุสัญญา ICERD ระหว่างวันที่ ๙-๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญา ICERD
              ๒๖๗   ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในวิกิพีเดีย ดูได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/%E๐%8%9B%E๐%B8%A3%E๐% B8%B๐%E๐%B9% 80%E๐%B8%93%E๐%B8%A8%E๐%B9%
              84%E๐%B8%97%E๐%B8%A2
              ๒๖๘   ข้อมูลตามรายงานผลการด�าเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญา CERD ฉบับที่ ๑-๓ (ภาษาอังกฤษ), หน้า ๗-๘
              ๒๖๙   ประมาณการตามที่ปรากฏในยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลปี ๒๕๔๘


                                                                                                          162
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197