Page 193 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 193

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



        >> สถานการณ์และความห่วงกังวล

           (๑) ที่ผ่านมา รัฐบาลได้ด�าเนินการเพื่อประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติหลายประการ อาทิ การแก้ไขเพิ่มเติม
           พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.  ๒๕๕๑ การออกระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดให้มีโฉนดชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓ มติคณะรัฐมนตรี
           ที่เกี่ยวข้อง เช่น แนวนโยบายการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล (๒ มิถุนายน ๒๕๕๓) แนวนโยบายในการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง (๓ สิงหาคม
           ๒๕๕๓) และอนุบัญญัติของหน่วยงาน เช่น กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิขององค์กรชุมชนและองค์กรเอกชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
           ในศูนย์การเรียน พ.ศ.  ๒๕๕๕ เป็นต้น อย่างไรก็ดี ยังคงพบสภาพปัญหาทั่วไปที่สิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ
           ยังไม่ได้รับการรับรองหรือถูกละเมิด ได้แก่


        > ลักษณะทางธรรมชาติของการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์   > สถานการณ์และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องสิทธิในสถานะบุคคล
        ที่แบ่งเป็น ๔ กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่สูงหรือ   ทางกฎหมาย เนื่องจากประเทศไทยมีความแตกต่างหลากหลาย
        ชนชาวเขา กลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ราบ กลุ่มชาวเล และกลุ่มที่  ของกลุ่มชาติพันธุ์จ�านวนมาก ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่ตามภูมิภาค
        อาศัยอยู่ในป่า ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร ห่างไกลจากระบบ  ต่าง ๆ กอปรกับลักษณะการตั้งบ้านเรือนและวิถีการด�าเนินวิถีชีวิต
        การคมนาคมขนส่ง และศูนย์กลางการบริหารจัดการ หรือระบบ   ในพื้นที่ห่างไกล มีความทับซ้อนระหว่างพรมแดน ท�าให้การส�ารวจ
        การดูแลของรัฐทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น  ประชาชน   และก�าหนดสถานะบุคคลทางกฎหมายล่าช้า ขาดความสมบูรณ์
        กลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ยังขาดความมั่นคงในการด�ารงชีวิต มีสภาพ  หรือมีความคลุมเครือในการลงบันทึกข้อมูล และส่งผลให้ไม่สามารถ
        ยากจน และมีความเหลื่อมล�้าในการกระจายรายได้          เข้าถึงสิทธิหรือการได้รับบริการขั้นพื้นฐานของรัฐในบางด้าน
                                                             รวมถึงขาดโอกาสในการพัฒนาต่าง ๆ และที่ส�าคัญ ยังมีบุคคล
        > กลุ่มชาติพันธุ์ในหลายพื้นที่ยังคงท�าการเกษตรแบบดั้งเดิม
        อาศัยธรรมชาติเป็นหลัก ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ประสบ  ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีปัญหาด้านสถานะบุคคลและอยู่ระหว่าง
        ปัญหาและข้อจ�ากัดทั้งในเรื่องที่ดินท�ากิน ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม   การพิจารณาก�าหนดสัญชาติไทย ประมาณ ๕๖๐,๐๐๐ คน
        ขาดแคลนน�้าเพื่อการเกษตร ตลอดจนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง  ส่งผลกระทบต่อการสร้างจิตส�านึกการเป็นพลเมืองไทย
        สภาพภูมิอากาศ เกิดภัยพิบัติบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบรุนแรง   และการยอมรับในสังคม
        ต่อพื้นที่การเกษตร นอกจากนี้ ยังประสบปัญหาความไม่ชัดเจน   > กลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชาวเล ซึ่งมีวิถีชีวิตเคลื่อนย้ายในทะเล
        เรื่องกรรมสิทธิ์การถือครอง หรือการใช้ประโยชน์บนที่ดิน ที่ท�ากิน   แถบอันดามันมายาวนาน  ปัจจุบันมีชุมชนชาวเลประมาณ
        และที่อยู่อาศัย เนื่องจากขาดระบบฐานข้อมูลที่ชัดเจนในการ  ๓๐ ชุมชนตั้งหลักแหล่งกระจายอยู่ใน ๖ จังหวัดภาคใต้ของไทย
        ส�ารวจการใช้ประโยชน์ที่ดิน และข้อมูลพื้นที่อนุรักษ์ รวมทั้งมีความ  คือ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรังและสตูล มีประชากรประมาณ
        ขัดแย้งเชิงนโยบายระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ธรรมชาติ    ๑๐,๐๐๐ คน แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม คือ (๑) มอแกน ประมาณ ๘๐๐ คน
        การถือครองกรรมสิทธิ์ของธุรกิจเอกชน หรือปัจเจกบุคคลเหนือ  (๒) มอแกลน ประมาณ ๓,๐๐๐ คน และ (๓) อูรักลาโว้ย
        ที่ดิน รวมถึงการขาดกลไกการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ    ประมาณ ๕,๐๐๐ คน ชาวเลทั้ง ๓ กลุ่มมีปัญหาที่คล้ายคลึง
        หลายกรณีพบว่า การด�าเนินการของเจ้าหน้าที่รัฐในส่วนที่เกี่ยวกับ   กัน ที่ส�าคัญ คือ การขาดความมั่นคงในที่อยู่อาศัย การเข้าไม่ถึง
        ที่ดินที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ผ่านนโยบาย   บริการของรัฐเนื่องจากขาดเอกสารแสดงความเป็นบุคคล
                       ๒๗๐
        กฎหมาย ค�าสั่งต่าง ๆ   ขาดการบูรณาการ ส่งผลให้การด�าเนินการ   ของรัฐ  และปัญหาเกี่ยวกับการหาเลี้ยงชีพตามวิถีชีวิตแบบ
        กระทบหรือละเมิดต่อสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่   ดั้งเดิม  ปรากฏการณ์ข้างต้นเกิดขึ้นตลอดในพื้นที่ต่าง ๆ และ

        > นโยบายและมาตรการของหน่วยงานต่าง ๆ ขาดการประสานงาน   มีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการอพยพ
        หรือมีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน และขาดการ   โยกย้ายออกจากที่อยู่อาศัยและที่ท�ากิน การเป็นผู้ไร้ที่ท�ากิน
        มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ จึงเป็นข้อท้าทาย   การจ�ากัดสิทธิ  และการสูญเสียวิถีชีวิตดั้งเดิมทั้งประเพณี
        ส�าคัญในการพัฒนาและด�าเนินการตามแผนแม่บท ตลอดจน      และวัฒนธรรม การท�าให้ชุมชนอ่อนแอลงจนไม่สามารถดูแลพึ่งพา
        ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกลไกในการด�าเนินงานภาพรวม   ตนเองได้
        โดยค�านึงถึงสิทธิและความต้องการของกลุ่มชาติพันธุ์เป็นศูนย์กลาง

        ๒๗๐  การด�าเนินการของเจ้าหน้าที่รัฐในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์จะใช้อ�านาจผ่านช่องทางหลัก ได้แก่ (๑) กฎหมายทั่วไป อาทิ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔
        พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดิน
        เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) กฎหมายหรือค�าสั่งที่มีลักษณะทางกฎหมาย อาทิ ค�าสั่ง คสช. ฉบับที่ ๖๔/๒๕๕๗  เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๗
        และที่ ๖๖/๒๕๒๗  เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ เรื่อง การปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกท�าลายทรัพยากรป่าไม้ และ (๓) แนวปฏิบัติหรือการด�าเนินการอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้องและอาจส่งผล
        ต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีการจัดการทรัพยากรต่างๆ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์ อาทิ แผนแม่บทการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ของกระทรวงการ
        พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และนโยบายการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ

         163
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198