Page 199 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 199
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
>> ด้านการดูแลช่วยเหลือผู้ลี้ภัย/ผู้หนีภัยจากการสู้รบ
กสม. เห็นว่า แม้รัฐบาลไทยจะไม่ได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญา
ว่าด้วยสถานะผู้ลี้ภัย จึงควรมีกลไกในการคัดกรองผู้ลี้ภัยออก
จากผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายโดยทั่วไป เพื่อประกันว่าบุคคลเหล่าที่
เป็นผู้ลี้ภัยจริงจะไม่ถูกส่งกลับไปยังประเทศต้นทางที่อาจ
เป็นอันตรายได้ อย่างไรก็ดี ในกรณีของผู้หนีภัยการสู้รบตาม
แนวชายแดนไทย - เมียนมา จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการ
พิจารณาสถานภาพผู้ลี้ภัยระดับจังหวัด (PAB) ในจังหวัดที่มี
• อนึ่ง กสม. ยังพบว่า มีบุคคลกลุ่มชาติพันธุ์ที่ไม่สามารถขอพิสูจน์ ศูนย์พักพิงชั่วคราวของผู้หนีภัยเพื่อเป็นกลไกในการคัดกรอง
ตนตามระเบียบกฎหมายสัญชาติของรัฐไทยได้ จึงตกอยู่ในฐานะ ผู้ที่เข้าข่ายเป็นผู้ลี้ภัย แต่การด�าเนินการของคณะกรรมการ
เป็นผู้หลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมายแม้ว่าจะเกิดในประเทศไทย ดังกล่าวค่อนข้างล่าช้า ท�าให้มีผู้แสวงหาที่พักพิงที่รอการพิจารณา
โดยเหตุที่กฎหมายว่าด้วยสัญชาติของรัฐไทย คือ พระราชบัญญัติ สถานภาพมากถึง ๕๐,๐๐๐ - ๖๐,๐๐๐ คน
สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ มาตรา ๗ ทวิ บัญญัติ >> ด้านสิทธิในที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัย
ว่า “ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าว กสม. พบว่า การประกาศเขตป่าสงวนและเขตอุทยานทับที่อยู่อาศัย
ย่อมไม่ได้รับสัญชาติไทย” และเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย และที่ท�ากินของประชาชน เป็นปัญหาที่มีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
โดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง”และท�าให้ ยาวนาน หลายกรณีไม่ได้ค�านึงถึงข้อเท็จจริงว่ามีประชาชนอาศัยใน
บุคคลนั้นไม่มีรัฐใดยอมรับว่าเป็นพลเมืองของตน ขาดความมั่นคง พื้นที่ดังกล่าวมาก่อน ท�าให้ประชาชนเหล่านั้นกลายเป็นผู้บุกรุกป่า
ในการด�ารงชีวิต หากถูกจับกุมก็จะถูกผลักดันออกนอกประเทศไทย และได้รับความเดือดร้อนจากการถูกขับไล่ออกจากพื้นที่ ไม่มี
ทันที บ่อยครั้งที่บุคคลกลุ่มนี้ถูกข้อกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรแผ่นดิน ที่ดินท�ากิน มีการด�าเนินคดีกับประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่
อย่างไม่รู้ ตัวเช่น การสร้างปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ทับซ้อนกับเขตอุทยานแห่งชาติและเขตป่าสงวนแห่งชาติ ทั้งทาง
การท�าลายทรัพยากรและเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ บางครั้ง อาญาและทางแพ่งอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีผลกระทบต่อกลุ่มชาติพันธุ์
เป็นช่องทางให้เจ้าหน้าที่รัฐกดขี่รีดไถอยู่เป็นประจ�า บางรายถูกฆ่า ค่อนข้างมากเนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีวิถีชีวิตพึ่งพิงอยู่กับป่า ทะเล
ตัดตอนล้มหายตากจากไป
และทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งรัฐควรให้ความส�าคัญและประกัน
• กสม. เห็นว่า โดยเหตุที่กระบวนการพิจารณาลงรายการ สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมในการอนุรักษ์
สัญชาติไทยตามระเบียบใหม่ โดยหลักแล้วสิ้นสุดที่ระดับอ�าเภอ หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอัน
ท�าให้อ�านาจในการก�าหนดแผนการท�างานในเรื่องนี้ทั้งหมดอยู่ที่ ดีงามของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการ
นายอ�าเภอ ดังนั้น การสนับสนุนให้นายอ�าเภอให้ความส�าคัญแก่เรื่อง การบ�ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ดังกล่าว ก็จะช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ และท�าให้กระบวนการ สิ่งแวดล้อมที่ได้รับการประกันไว้ตามรัฐธรรมนูญ
เป็นไปอย่างรวดเร็ว เสมอภาค โปร่งใส มีประสิทธิภาพเกิดการ
ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ เช่น องค์กรเอกชน เพื่อลดความล่าช้า >> การพัฒนา ปรับปรุงนโยบาย แผนงาน กฎหมาย
และอ�านวยให้กลุ่มชาติพันธุ์สามารถเข้าถึงสิทธิที่พึงได้รับ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนแม่บทการพัฒนาในพื้นที่สูง สถานะบุคคล
ของชนเผ่าต่าง ๆ ในประเทศไทย การผลักดันการปฏิรูปกฎหมาย
>> ด้านสิทธิทางการเมือง
นโยบาย ค�าสั่งที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิของกลุ่มชาติพันธ์ุ ตลอด
กสม. ได้เคยมีข้อเสนอให้รัฐบาลพิจารณาทบทวนให้ผู้ที่เป็น จนปัญหาในการน�านโยบายและกฎหมายไปปฏิบัติที่ก่อให้เกิด
คนไทยโดยการแปลงสัญชาติซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานแล้ว การละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
สามารถมีส่วนร่วมในการปกครองส่วนท้องถิ่นได้ในบางกรณี เพื่อน�าไปสู่การยกเลิกข้อสงวนใน CERD และให้เป็นไปตามค�ามั่น
หากไม่กระทบต่อความมั่นคงของรัฐ โดยสมัครใจที่รัฐบาลได้ให้ไว้ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่ง
>> ด้านสิทธิการศึกษา สหประชาชาติในกระบวนการ UPR ตลอดจนให้ความส�าคัญ
กับการด�ารงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ ทั้งนี้ รัฐบาลควรน�า
กสม. พบว่า ยังมีกลุ่มเด็กที่มีปัญหาสถานะบุคคลประสบปัญหา (ร่าง) พระราชบัญญัติสภาชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองแห่ง
ในการเข้าเรียนในสถานศึกษาไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณราย ประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือของภาคีภาคส่วนต่าง ๆ เเละ
หัวจากรัฐ และเห็นว่ารัฐควรส่งเสริมการศึกษาโดยใช้ภาษาถิ่น คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายขึ้นมาพิจารณา
ในการเรียนการสอนด้วย
169