Page 197 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 197
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
>> สิทธิการศึกษา
รัฐบาลมีนโยบายให้เด็กที่มีปัญหาสถานะทางทะเบียนราษฎรเข้าเรียน
ในสถานศึกษาของรัฐได้ทั้งหมด โดยในส่วนของศูนย์พักพิงชั่วคราว
มีการจัดการศึกษาแก่ผู้หนีภัยการสู้รบ โดยส่วนใหญ่เน้นการศึกษาด้านอาชีพ
และเป็นระบบการศึกษาที่จัดขึ้นในค่ายโดยเฉพาะ ซึ่งไม่ได้รับการรับรองจาก
หน่วยงานไทย โดยกระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนาหลักสูตรภาษาไทย
และภาษาอังกฤษเพื่อให้ได้รับการรับรองจากระบบการศึกษาภายนอก
เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อของเด็กผู้หนีภัยฯทั้งนี้ แม้ว่ารัฐบาล
จะมีนโยบายการประกันการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) แต่เด็ก
ผู้หนีภัยในเมืองยังไม่สามารถเข้าถึงสิทธิด้านการศึกษาได้
>> สิทธิในที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัย
กลุ่มชาติพันธุ์มักได้รับผลกระทบจากพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ ให้ชาวกะเหรี่ยงกลุ่มดังกล่าวกลับเข้าไปท�ากินในที่ดินเดิมจนกว่า
พ.ศ. ๒๕๐๔ ที่ให้รัฐสามารถก�าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมเป็นเขต การแก้ไขปัญหาจะได้ข้อยุติ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อเยียวยา
อุทยานแห่งชาติได้และห้ามบุคคลเข้าไปครอบครองที่ดินหรือ ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนและเผาท�าลายทรัพย์สิน
ท�าประโยชน์ นอกจากนั้น แม้ว่าคณะรัฐมนตรีจะเคยมีมติ ตลอดจนให้มีการด�าเนินการตามแนวนโยบายในการฟื้นฟูวิถี
เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ เพื่อวางแนวทางในการแก้ไขปัญหา ชีวิตชาวกะเหรี่ยง และให้กรมการปกครองเร่งรัดการส�ารวจ
ที่เกิดจากการประกาศเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ทับซ้อนที่อยู่อาศัย/ และให้สัญชาติไทยแก่กะเหรี่ยงกลุ่มนี้ ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
ท�ากินของประชาชน โดยให้มีการพิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดิน ในส่วนของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล มักตั้งหลักแหล่งอยู่บริเวณชายฝั่ง
ในบริเวณนั้นก่อน หากพิสูจน์พบว่าราษฎรอยู่อาศัย/ท�ากินมาก่อน ทะเลส่วนใหญ่และไม่มีเอกสารสิทธิในที่ดิน แม้ว่าจะได้อาศัยอยู่
และไม่เป็นพื้นที่ที่จะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศ ให้หน่วยงาน ที่ในพื้นที่นั้นมานานแล้ว ที่ดินที่ชาวเลอาศัยอยู่มักเป็นของหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องออกเอกสารเพื่อให้ราษฎรอยู่อาศัย/ท�ากินต่อไปได้ ราชการหรือเอกชน จึงมักถูกขับไล่ออกจากที่ดินหรือถูกฟ้องร้อง
แต่ถ้าเป็นพื้นที่ล่อแหลมคุกคามต่อระบบนิเวศ ให้เคลื่อนย้ายราษฎร เรื่องการบุกรุกที่ การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวท�าให้เอกชน
ออกจากบริเวณนั้นโดยให้หน่วยงานหาพื้นที่ที่เหมาะสมรองรับ ต้องการพัฒนาที่ดินชายฝั่งทะเลเป็นท่าเทียบเรือ โรงแรม
การเคลื่อนย้ายต่อไป ๒๗๖ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นหลายกรณีได้สะท้อน หรือรีสอร์ท ชุมชนชาวเลจึงเหลือพื้นที่ในการอยู่อาศัยน้อยลง
ว่าแนวทางตามมติคณะรัฐมนตรียังไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างจริงจัง หลายครอบครัวต้องอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ท�าให้เกิดความแออัด
ในปี ๒๕๕๘ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีความขัดแย้งเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ สถานที่ประกอบพิธีกรรมและสุสานของชาวเลมักอยู่ที่
กับที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัยอันเนื่องมาจากลักษณะการใช้ บริเวณชายหาด เมื่อรัฐมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว จึงท�าให้เกิด
กฎหมายข้างต้น ๕๐ ค�าร้อง โดยครอบคลุมพื้นที่ ๓๐ จังหวัด การบุกรุกที่สุสานและที่ประกอบพิธีกรรมของชาวเลด้วย การขยาย
และคิดเป็นจ�านวนที่ดิน ซึ่งมีการเรียกคืนหรือด�าเนินการปลูกป่า เขตอนุรักษ์ทางทะเลและการขยายตัวของพื้นที่เอกชนอันเนื่องมาจาก
เป็นพื้นที่ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ไร่ ส่วนกรณีของชาวกะเหรี่ยงที่อาศัย การท่องเที่ยวท�าให้ชาวเลมีพื้นที่ในการท�าประมงตามวิถีชีวิตดั้งเดิม
อยู่บ้านบางกลอยบนและบ้านใจแผ่นดิน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี น้อยลง ชาวเลซึ่งส่วนใหญ่ยากจนอยู่แล้วต้องประสบปัญหา
จ�านวน ๘๔ ราย ได้ท�าหนังสือร้องแจ้งต่อ กสม. นั้น ต่อมา กสม. ได้ ถูกยึดเรือและถูกจับหรือเสียค่าปรับ อุปกรณ์จับปลาของชาวเล
เสนอมาตรการการแก้ไขปัญหาและป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ยังถูกท�าลายโดยนักท่องเที่ยวและนักด�าน�้าซึ่งมองว่าชาวเลท�าลาย
หลายประการ อาทิ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ทรัพยากรธรรมชาติ ชาวเลที่ไม่มีบัตรประชาชนไม่สามารถท�างาน
ควรแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงกรณีที่มีการเข้า รับจ้างที่ได้รับการคุ้มครองแรงงานตามกฎหมายได้ จึงถูกนายทุน
ผลักดัน รื้อถอนและการเผาท�าลายทรัพย์สินของชาวกะเหรี่ยง ชักชวนไปท�าประมงในเขตพม่าซึ่งผิดกฎหมายและเสี่ยงอันตราย
และยุติการด�าเนินการจับกุม ข่มขู่คุกคาม ให้ด�าเนินการตาม จากการใช้ระเบิดจับปลา นอกจากนี้ ชาวเลยังมีความเสี่ยงต่อการ
มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง แนวนโยบายในการฟื้นฟูวิถีชีวิต เป็นโรค “น�้าหนีบ” หรือการด�าน�้าลึกและขึ้นจากน�้าเร็วโดยร่างกาย
ชาวกะเหรี่ยง ให้มีการส�ารวจการถือครองที่ดินท�ากินของ ปรับตัวไม่ทัน ท�าให้เป็นอัมพาต บางรายต้องเสียชีวิตตั้งแต่อายุยัง
กลุ่มชาวกะเหรี่ยงบ้านบางกลอยบนและบ้านใจแผ่นดิน ตาม ไม่มาก ท�าให้ครอบครัวเดือดร้อนขาดผู้เลี้ยงดู
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ และผ่อนผัน
๒๗๖ เว็บไซต์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ดูได้ที่ www.dnp.go.th/watershed/gov2.htm#4
167