Page 195 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 195

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



          ๓  สถานการณ์ในปี ๒๕๕๘


            สถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนของกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติในปี ๒๕๕๘ ยังคงเป็นปัญหาที่สืบเนื่อง
        มานาน ได้แก่


        >> สิทธิในการมีสถานะบุคคลทางกฎหมาย

        ปัญหาการรับรองสถานะบุคคลยังคงเป็นปัญหาส�าคัญส�าหรับกลุ่ม  ได้ส�ารวจและขึ้นทะเบียนกลุ่มที่อยู่ในประเทศไทยมานานแล้ว จ�านวน
        ชาติพันธุ์ที่อยู่ในประเทศไทย  ทั้งกลุ่มที่อยู่ในประเทศไทยมานาน  ประมาณ ๕.๖ แสนคน ส่วนกลุ่มที่อพยพเข้ามาภายหลังมีประมาณ
        แล้วและกลุ่มที่อพยพเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้านภายหลัง รัฐบาล  ๑.๒ แสนคน แต่หน่วยงานรัฐก็ยังคงมีความกังวลว่า นโยบาย
        มีนโยบายที่จะรับรองสถานะทางกฎหมายและให้สิทธิอยู่อาศัย  ดังกล่าวท�าให้เกิดการลักลอบเข้ามาอยู่ในประเทศไทยเพื่อให้ได้รับ
        ถาวรตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล    สถานะ ปัญหาในการรับรองสถานะบุคคลทางกฎหมายมีความ
        พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยให้สถานะเป็นผู้เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายหรือ   หลากหลายขึ้นกับบริบทของแต่ละกลุ่ม ดังนี้
        ได้รับสัญชาติไทยตามหลักเกณฑ์ที่ก�าหนด โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


        ในการจดทะเบียนเกิด บุคคลที่มีปัญหาสถานะบุคคลจ�านวนมาก   คนไทยพลัดถิ่น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีเชื้อสายไทยที่มีบรรพบุรุษอาศัย
        ยังไม่ทราบถึงความส�าคัญของการจดทะเบียนเกิด และการมีเอกสาร   และท�ากินอยู่ในพื้นที่ติดกับชายแดนไทยในประเทศเมียนมา
        หลักฐานทางทะเบียนเพื่อเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ เช่น เด็กที่ไม่มี   และกัมพูชาซึ่งเคยเป็นดินแดนของไทย แต่ต่อมามีการเปลี่ยนแปลง
        บัตรประจ�าตัวประชาชน ไม่สามารถเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นได้   เส้นเขตแดน ท�าให้ดินแดนบางส่วนเป็นของประเทศเพื่อนบ้าน
        บางกรณี เจ้าหน้าที่ไม่รับแจ้งเกิดหรือไม่ออกเอกสารหลักฐาน   ท�าให้คนไทยที่อยู่ในบริเวณดังกล่าวกลายเป็นพลเมืองของ
        ให้ทั้งที่มาจากครอบครัวเดียวกันโดยไม่ทราบเหตุผลชัดเจน   ประเทศเพื่อนบ้านไปโดยปริยาย ส่งผลให้บุตรหลานของบุคคล
        กอปรกับการที่บุคคลเหล่านี้ไม่สามารถสื่อสารในภาษาไทยได้ ท�าให้  กลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับสัญชาติไทย ต่อมาคนไทยกลุ่มนี้บางส่วนอพยพ
        เข้าไม่ถึงข้อมูลต่าง ๆ และสุ่มเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิ  เข้ามาอยู่ในประเทศไทยและขอคืนสัญชาติไทย โดยได้รณรงค์

        กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล ซึ่งมีวิถีชีวิตการท�ามาหากินด้วยการออกทะเล   ให้รัฐด�าเนินการในเรื่องดังกล่าวมานานถึง ๑๐ ปี ในที่สุด รัฐสภา
        ท�าให้ไม่ได้มีการแจ้งเกิดเด็กชาวเลกับหน่วยงานราชการ ชาวเล  ได้ให้ความเห็นชอบพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
        จ�านวนมากจึงตกอยู่ในสภาวะคนไร้รัฐ จากการเก็บข้อมูลประชากร  ซึ่งเป็นกฎหมายที่จะคืนสัญชาติไทยให้คนไทยพลัดถิ่นสัญชาติ
        ชาวมอแกนโดยองค์การเอกชนในปี ๒๕๔๖ พบว่า ในจ�านวน      เมียนมาและกัมพูชาประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน ซึ่งต่อมาหน่วยงาน
        ประชากรทั้งหมดประมาณ ๘๐๐ คน มีเพียง ๙๔ คนที่มีบัตรประจ�าตัว   ที่เกี่ยวข้องได้ออกกฎเกณฑ์รองรับการคืนสัญชาติแล้ว
        ประชาชน ที่เหลือกว่า ๗๐๐ คนได้รับการส�ารวจทางทะเบียนแล้ว   คนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ ที่อพยพมาจากประเทศใกล้เคียงและเข้ามา
        แต่อยู่ระหว่างรอการท�าบัตรสถานะบุคคล ๒๗๒  ส่วนชาวเล   อยู่ในประเทศไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ หากเป็นกลุ่มที่อพยพเข้ามา
        จากแหลมตุ๊กแก จังหวัดภูเก็ต ให้ข้อมูลว่าในหมู่บ้านของตน   นานแล้วจะได้รับสิทธิอยู่อาศัยถาวรในประเทศไทยและบุตรที่เกิด
        มีสมาชิกกว่า ๒,๐๐๐ คน แต่มีผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียง ๕๐๐    ในประเทศไทยจะได้รับสัญชาติไทย แต่กลุ่มที่อพยพเข้ามาในระยะ
                   ๒๗๓
        กว่าคนเท่านั้น  ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าชาวเลส่วนใหญ่   หลังและมีปัญหาในการส่งกลับประเทศต้นทาง รัฐบาลได้ผ่อนผัน
        ไม่ได้สถานะเป็นพลเมืองไทย ท�าให้ไม่ได้รับสิทธิและความคุ้มครอง   ให้อยู่ในประเทศไทยได้เป็นการชั่วคราว และได้มอบให้หน่วยงาน
        ตามกฎหมายไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ จากรัฐ ทั้งการศึกษา   ที่เกี่ยวข้องส�ารวจข้อมูลเพื่อจัดท�าทะเบียนและจะได้พิจารณา
        และการรักษาพยาบาล มีข้อมูลจากองค์การเอกชนว่า เจ้าหน้าที่รัฐ  ก�าหนดสถานะที่เหมาะสมให้ต่อไปตามยุทธศาสตร์การจัดการ
        บางคนข่มขู่และเรียกเก็บเงินจากชาวเลที่ไม่มีบัตรประชาชนด้วย   ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล พ.ศ. ๒๕๔๘  คนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ
        นอกจากนี้  ชาวเลมักไม่ได้รับการยอมรับจากคนในท้องถิ่น   ในกลุ่มนี้ประสบปัญหาในการเข้าถึงสิทธิเช่นเดียวกับกลุ่มบุคคล
        ในหลายพื้นที่ ค�าว่า “ชาวเล” มักมีความหมายทางลบและ   อื่น ๆ ที่ยังไม่ได้รับสถานะทางกฎหมาย
        ใช้เรียกคนที่ละเลยเรื่องความสะอาดและอนามัย ไม่เอาใจใส่
        การเรียน หรือคนที่จับจ่ายใช้สอยจนไม่มีเงินเหลือเก็บ ๒๗๔




        ๒๗๒   อ้างแล้ว, หน้า ๕.
        ๒๗๓   มูลนิธิกองทุนไทย, ‘ชาวเล’ ไทยใหม่กลุ่มสุดท้ายที่ถูกลืม.  ดูได้ที่ www.thaingo.org/story3/news_newpeaple 03082546.htm
        ๒๗๔   มูลนิธิชุมชนไทย, ชาติพันธุ์ชาวเล, หน้า ๑๐.  ดูได้ที่  www.chumchonthai.or.th/sites/default/files/moken.pdf


         165
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200