Page 190 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 190
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
>> มิติที่สอง ระบบประกันสังคมและการเข้าถึงบริการ อุปสรรคจากการนิยามค�าว่า “ลูกจ้าง” ตามพระราชบัญญัติเงิน
สาธารณสุข ทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งมิได้รวมถึงลูกจ้างซึ่งท�างานเกี่ยวกับ
• ระบบประกันสังคม งานบ้านอันมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย
แรงงานข้ามชาติกลุ่มพิสูจน์สัญชาติและกลุ่มน�าเข้าตาม MOU >> มิติที่สาม การเข้าถึงการศึกษา
เป็นกลุ่มจะต้องเข้าสู่การคุ้มครองตามพระราชบัญญัติประกันสังคม ข้อมูลจากผลส�ารวจในปี ๒๕๕๘ ระบุว่า เด็กไม่มีสัญชาติ
๒๕๗
พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๓ แต่พบว่ามีอุปสรรคหลายประการที่ท�าให้ ไทยอยู่ในประเทศไทยประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คน ในจ�านวนนี้
แรงงานข้ามชาติไม่สามารถเข้าถึงการคุ้มครองตามกฎหมายได้ เป็นเด็กที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาถึงร้อยละ ๔๖
อาทิ (๑) ปัญหาจากแรงงานข้ามชาติ เช่น อุปสรรคด้านภาษา และพบเด็กข้ามชาติที่ศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะ
การไม่เข้าใจถึงสิทธิที่ตนมี (๒) ปัญหาจากนายจ้าง เช่น นายจ้าง ระดับมัธยมศึกษามีจ�านวนน้อย ถึงแม้เด็กเหล่านี้จะมีทางเลือก
บางรายไม่ด�าเนินการให้แรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบทะเบียน ในการศึกษาผ่านการเข้าเรียนศูนย์การเรียนรู้ แต่ศูนย์ดังกล่าว
ประกันสังคม หรือไม่น�าส่งเงินสมทบ หรือส่งไม่ต่อเนื่อง (๓) ปัญหา ไม่มีความมั่นคงเนื่องจากเจ้าของเป็นกลุ่มคนข้ามชาติด้วย
จากระบบและเงื่อนไขในการใช้สิทธิ เช่น ขาดฐานข้อมูลแรงงานข้าม กันเองโดยรับเงินสนับสนุนจากองค์กรเอกชน นอกจากนี้
๒๖๑
ชาติที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม การขาดหลักฐานจดทะเบียนสมรส เด็กบางส่วนโดยเฉพาะช่วงอายุ ๑๑-๑๔ ปี ต้องหยุดเรียนกลาง
หรือแสดงความเป็นบิดามารดาที่จะใช้สิทธิทดแทนกรณีคลอดบุตร คันเนื่องจากอุปสรรคเรื่องภาษา ต้องช่วยพ่อแม่ท�างาน และต้อง
และเงินสงเคราะห์บุตร โดยในเรื่องการประสังคมให้กับแรงงาน ย้ายสถานที่บ่อย เช่น เด็กที่พ่อแม่ท�างานในสถานที่ก่อสร้าง บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
ข้ามชาติ ส�านักงานประกันสังคมได้ด�าเนินการจัดท�าร่างกฎหมาย
๒๕๘
ประกันสังคมส�าหรับแรงงานต่างด้าว ซึ่งสิทธิประโยชน์ทดแทน >> มิติที่สี่ การจัดตั้งสหภาพและการนัดหยุดงาน
ที่จะได้รับใหม่ไม่ครอบคลุมถึง ๗ ประการตามที่แรงงานไทยได้รับ
เนื่องจากการมีรูปแบบการท�างานที่แตกต่างจากแรงงานไทย พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ ก�าหนดให้แรงงาน
สิทธิประโยชน์บางอย่างอาจจะไม่สอดคล้องกัน เช่น อาจจะต้องตัด ข้ามชาติเป็นได้เพียงสมาชิกสหภาพแรงงาน ไม่สามารถจัดตั้ง
การเก็บเงินสมทบกรณีว่างงาน เนื่องจากแรงงานต้องกลับประเทศ สหภาพแรงงาน ด�ารงต�าแหน่งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ หรือ
หลังครบก�าหนดจ้างงานท�าให้ไม่สามารถรับสิทธิได้ ส่วนสิทธิกรณี ที่ปรึกษาได้ กระนั้นก็ตาม แรงงานข้ามชาติที่ถูกจ้างผ่านบริษัท
ชราภาพอาจจะให้เงินก้อนแก่แรงงานที่ต้องกลับประเทศ ๒๕๙ จัดหางานต่าง ๆ ก็ไม่สามารถเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานได้
เนื่องจากมีบทบัญญัติที่ก�าหนดให้ผู้ที่จะเป็นสมาชิกของ
• หลักประกันสุขภาพ สหภาพแรงงานได้ จะต้องเป็นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกัน
แรงงานข้ามชาติที่ใช้บัตรประกันสุขภาพ ได้แก่ กลุ่มแรงงานที่อยู่ กับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน หรือเป็นลูกจ้างซึ่งท�างาน
ระหว่างการรอสิทธิประกันสังคม และกลุ่มนอกระบบประกันสังคม ในกิจการประเภทเดียวกันกับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน
ซึ่งพบอุปสรรคที่ท�าให้แรงงานข้ามชาติไม่สามารถเข้าถึงหลัก ซึ่งที่ผ่านมารัฐได้มีเจตนาที่จะให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์การ
ประกันสุขภาพได้อย่างเต็มที่ อาทิ อุปสรรคด้านภาษา การเข้าไม่ถึง แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ มาโดยตลอด
ข้อมูล การปฏิเสธการขายบัตรประกันสุขภาพของโรงพยาบาล ซึ่งกระทรวงแรงงานได้เสนอร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
จ�านวนมากให้แก่แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม ยกเว้นเป็นแรงงาน พ.ศ. …. และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
ที่ขึ้นทะเบียนและมีหลักฐานเอกสารการแสดงตนมายืนยัน ๒๖๐ พ.ศ. …. โดยปรับปรุงเนื้อหาจากกฎหมายปัจจุบันให้สอดคล้อง
เช่น หนังสือเดินทาง หลักฐานเอกสารการจ้างงานของนายจ้าง กับอนุสัญญา ILO ทั้งสองฉบับมากขึ้น แต่เนื่องจากยังมีความ
เป็นต้น อีกทั้งจ�านวนและสถานที่ตั้งของโรงพยาบาลที่จ�าหน่ายบัตร เห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องถึงบทบัญญัติบางประการของร่างกฎหมาย
ประกันสุขภาพมีจ�านวนน้อยและอยู่ไกลจากพื้นที่ที่แรงงานท�างาน สองฉบับนี้ที่ยังไม่สอดคล้องกับหลักการ ILO จึงยังท�าให้
๒๖๒
นอกจากนี้ ยังพบว่าแรงงานข้ามชาติที่ท�างานในบ้านไม่สามารถ มีการปรับแก้ไขร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่
เข้าถึงกองทุนเงินทดแทนกรณีเจ็บป่วยจากการท�างานได้ เนื่องจาก
๒๕๗ ได้รับความคุ้มครองใน ๗ กรณี คือ (๑)เจ็บป่วย (๒) คลอดบุตร (๓) สงเคราะห์บุตร (๔) ทุพพลภาพ (๕) ว่างงาน (๖) ชราภาพ และ (๗) เสียชีวิต
๒๕๘ บทสัมภาษณ์ของนายโกวิท สัจจวิเศษ รองเลขาธิการส�านักงานประกันสังคม เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ดูรายละเอียดได้ที่ http://prachatai.com/journal/2015/08/61144
๒๕๙ เพิ่งอ้าง (บุษยรัตน์)
๒๖๐ คอลัมน์ เครือข่ายท�างานประชากรข้ามชาติ ห่วงใช้แรงงานทาสในธุรกิจประมง ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๘ ดูรายละเอียดได้ที่ www.prachatai.org/journal/2015/12/63058
๒๖๑ เพิ่งอ้าง
๒๖๒ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย ที่ ๓๒๓/๒๕๕๘
160