Page 191 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 191

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



           ๔  การประเมินสถานการณ์



        จากการติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน  อย่างไรก็ตาม กสม. เห็นว่า รัฐยังมีข้อจ�ากัดบางประการที่เป็น
        ข้ามชาติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) เห็นว่า  อุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิของแรงงานข้ามชาติ อาทิ การก�าหนด
        ปัจจุบันรัฐมีความก้าวหน้าในการด�าเนินการเพื่อคุ้มครองสิทธิของ  เงื่อนไขด้านหลักฐานในการใช้สิทธิประกันสังคม  จ�านวน
        แรงงานข้ามชาติมากขึ้น  โดยรัฐได้มีนโยบาย/มาตรการในการ
        บริหารจัดการแรงงานข้ามชาติอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะมาตรการ  สถานพยาบาลน้อยและอยู่ห่างไกลจากสถานที่ซึ่งเป็นแหล่ง
        เพื่อป้องกันการค้ามนุษย์และส่งเสริมคุณภาพชีวิตของแรงงาน  ที่มีแรงงานข้ามชาติจ�านวนมาก  นอกจากนี้   ยังมีช่องว่างทางกฎหมาย
        ข้ามชาติ  เช่น  การออกพระราชก�าหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘   ที่สร้างอุปสรรคให้สิทธิของแรงงานข้ามชาติไม่เป็นไปตาม
        การเปิดให้มีการลงทะเบียนแรงงานข้ามชาติ การตรวจสุขภาพ  มาตรฐานสากล เช่น กรณีการก่อตั้งสหภาพแรงงาน ซึ่งในเรื่องนี้
        และประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวรวมถึงผู้ติดตาม การแก้ไข  แม้จะมีความกังวลจากหลายฝ่ายเกี่ยวกับประเด็นความมั่นคง
        กฎหมายภายในที่เกี่ยวกับการก่อตั้งสหภาพแรงงานให้สอดคล้อง  ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม แต่นักวิชาการหลายท่านได้เสนอแนะให้
        กับอนุสัญญา ILO                                      รัฐพิจารณาถึงเงื่อนไขในการให้สิทธิจัดตั้งสหภาพแก่แรงงานข้ามชาติ
                                                             บางประเภท เช่น แรงงานที่พิสูจน์สัญชาติแล้ว แรงงานน�าเข้า
                                                             ตาม MOU เป็นต้น เพื่อประกันสิทธิขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานสากล




           ๕.๒.๖  กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ


           ๑  หลักการด้านสิทธิมนุษยชน


        ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (CERD) โดยได้ตั้งข้อสงวนในข้อ ๔ ของอนุสัญญา ๒๖๓
        และมิได้ท�าค�าแถลงยอมรับอ�านาจคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญาในการรับเรื่องร้องเรียนจากปัจเจกบุคคลตามข้อ ๑๔ ของอนุสัญญา CERD


        รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช   ด้านสาธารณสุข การศึกษา เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ
        ๒๕๕๗ มาตรา ๔ ได้คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ   และสิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย วัฒนธรรมและศาสนา การเข้าถึงข้อมูล
        และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับตามประเพณีการ  ข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การขนส่ง การเมือง
        ปกครองประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์  การปกครอง กระบวนการยุติธรรม และความมั่นคงทางสังคม
        ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทย   โดยมีข้อเสนอแนะส�าคัญ จ�านวน ๑๔ ข้อ ครอบคลุมยุทธศาสตร์
        มีอยู่แล้ว ซึ่งหลักการส�าคัญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ๔ ประการ คือ (๑) การป้องกันการละเมิดสิทธิ (๒) การคุ้มครอง
        พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๐ ได้รับรองความเสมอภาคของบุคคล  สิทธิมนุษยชนอย่างมีประสิทธิภาพ (๓) การพัฒนากฎหมายและ
        และห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุต่าง ๆ   กลไกทางกฎหมาย และ (๔) การพัฒนาศักยภาพขององค์กร
        รวมถึงความแตกต่างในเรื่องถิ่นก�าเนิด เชื้อชาติและภาษา  เครือข่าย ทั้งนี้ มีข้อเสนอประการหนึ่งในการสร้างความชัดเจน

        แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๑)    ในด้านนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวมถึงการให้มีมาตรการ
        ได้ก�าหนดแผนสิทธิมนุษยชนของกลุ่มผู้ไร้รัฐ ชาติพันธุ์ และ  ทางกฎหมายด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อคุ้มครองกลุ่มผู้ไร้รัฐ ชาติพันธุ์
                                                                                                  ๒๖๔
        กลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิงหรือผู้หนีภัยจากการสู้รบ โดยครอบคลุม  และกลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิงหรือผู้หนีภัยจากการสู้รบ







        ๒๖๓    ซึ่งมีบทบัญญัติว่า “มาตรการพิเศษที่จัดให้มีขึ้นตามความจ�าเป็น โดยมีเจตนาเพื่อประกันให้มีความก้าวหน้าอย่างเพียงพอในหมู่ชนบางเชื้อชาติ หรือบางเผ่าพันธุ์ หรือบุคคลบางกลุ่มที่
        ต้องการความคุ้มครอง เพื่อให้กลุ่ม หรือบุคคลเหล่านั้นได้มีสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐานอย่างเสมอภาคจะไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวต้อง
        ไม่ก่อให้เกิดการธ�ารงไว้ซึ่งสิทธิที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มชนเชื้อชาติต่างๆ และจะไม่คงอยู่ต่อไปภายหลังจากที่ได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้แล้ว”
        ๒๖๔    แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๑), หน้า ๘๒-๘๗


         161
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196