Page 186 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 186

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘




                ๕.๒.๕  กลุ่มแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม


                ๑  หลักการด้านสิทธิมนุษยชน



              “สิทธิในการท�างาน” (right to work) เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ปรากฎอยู่ในตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศหลายฉบับ โดยเฉพาะ
              อย่างยิ่ง  ในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social
              and Cultural Rights: ICESCR) ซึ่งประเทศไทยเข้าเป็นภาคีและมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตาม โดยตราสารฉบับดังกล่าวได้กล่าวถึง
              สาระของสิทธิที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการท�างานไว้ในส่วนที่ ๓ ของกติกา (ข้อ ๖-๙) ได้แก่ (๑) สิทธิในการท�างานและมีเงื่อนไขการท�างาน
              ที่เหมาะสมเป็นธรรม เช่น ค่าตอบแทน สภาพปลอดภัยและชีวอนามัย เป็นต้น (๒) สิทธิที่จะก่อตั้งสหภาพแรงงานและสิทธิที่จะหยุดงาน
              (๓) สิทธิที่จะได้รับสวัสดิการและหลักประกันด้านสังคม โดยข้อ ๒.๒ ของกติกาฯ ระบุให้รัฐภาคีประกันว่าสิทธิที่ระบุไว้ในกติกาฯ
              จะใช้ได้โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ รวมถึงเรื่องเชื้อชาติ


              คณะกรรมการประจ�ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทาง   นอกจากนี้  ประเทศไทยยังได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญา
              เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมได้อธิบายข้อบทของกติกาฯ    องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor
              เพิ่มเติมในเอกสาร general comment ๒๔๔  ว่าสิทธิในการท�างาน  Organization: ILO) จ�านวน ๑๕ ฉบับ (บังคับใช้ ๑๔ ฉบับ)
              เป็นทั้งสิทธิเชิงปัจเจกและสิทธิเชิงกลุ่มซึ่งรวมทุกรูปแบบของการ  ซึ่งเป็นอนุสัญญาหลัก ๕ ฉบับ (จากอนุสัญญาหลักทั้งหมด ๘ ฉบับ)  บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
              ท�างานไม่ว่าจะเป็นงานอิสระหรืองาน dependent wage-paid   ได้แก่ อนุสัญญาฉบับที่ ๒๙ ว่าด้วยการเกณฑ์แรงงานหรือ
              work รวมทั้งได้อธิบายว่า สิทธิในการท�างานไม่ใช่สิทธิอย่าง  แรงงานบังคับ อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๐ ว่าด้วยค่าตอบแทนที่
              สมบูรณ์หรือสิทธิในการได้รับการจ้างงานโดยปราศจากเงื่อนไข   เท่าเทียมกันส�าหรับหญิงและชายที่ท�างานอย่างเดียวกันและ
              ทั้งนี้ ค�าว่า “การท�างาน” ในกติกาฯ หมายถึงการท�างานที่มี  เป็นงานที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๕ ว่าด้วย
              คุณค่า (decent work)  ซึ่งคือการท�างานที่เคารพสิทธิขั้นพื้นฐาน  การยกเลิกการใช้แรงงานบังคับ อนุสัญญาฉบับที่ ๑๓๘ ว่าด้วย
              ของมนุษย์ ได้แก่ สิทธิแรงงาน (the rights of workers) ภายใต้  อายุขั้นต�่าที่ให้จ้างงานได้ อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๒ ว่าด้วย
              เงื่อนไขของสภาวะการท�างานที่ปลอดภัยและค่าตอบแทน (รายได้   การขจัดปัญหาการใช้แรงงาน เด็กในรูปแบบที่เลวร้าย ๒๔๗
              ที่แรงงานสามารถใช้สนับสนุนตัวแรงงานเองและครอบครัว)    ส�าหรับหลักการในประเทศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
              โดยควรให้โอกาสในการจ้างงานแก่แรงงานย้ายถิ่นและสมาชิกใน  (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้ให้การรับรองสิทธิและ
              ครอบครัวตามหลักการไม่เลือกปฏิบัติตามข้อ ๒.๒ ของกติกาฯ   เสรีภาพของบรรดาชนชาวไทยไว้ตามบทบัญญัติมาตรา ๔ ๒๔๘
              และข้อ ๗ ของอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงาน   โดยสาระเกี่ยวกับสิทธิในการท�างานที่รัฐธรรมนูญแห่งราช
                                    ๒๔๕
              ย้ายถิ่นและสมาชิกในครอบครัว  และคณะกรรมการฯ เห็นถึง  อาณาจักรไทยได้ให้การรับรองไว้นั้น เป็นเรื่องของเสรีภาพใน
              ความจ�าเป็นของการมีแผนปฏิบัติการแห่งชาติ (national plans   การประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดย
              of action) เพื่อให้มีมาตรการหรือกฎหมายหรือการด�าเนินการใด ๆ   เสรีอย่างเป็นธรรม การให้หลักประกันความปลอดภัยและ
              ที่เหมาะสมเพื่อการเคารพและส่งเสริมหลักการดังกล่าว นอกจาก  สวัสดิภาพในการท�างาน รวมทั้งหลักประกันในการด�ารงชีพ
              นี้คณะกรรมการฯ  ยังระบุว่ารัฐภาคีควรจะก�าจัดการเลือก  ทั้งในระหว่างการท�างานและเมื่อพ้นภาวการณ์ท�างาน อย่างไร
              ปฏิบัติหรือข้อห้ามโดยพฤตินัยในการเข้าถึงหลักประกันสังคมที่   ก็ตาม การรับรองสิทธิดังกล่าวเป็นการรับรองเฉพาะสิทธิของ
              เหมาะสมและควรมั่นใจว่ากฎหมาย นโยบาย แผนงานหรือ      คนไทย
              โครงการและการจัดสรรทรัพยากรได้อ�านวยความสะดวกในการ
              เข้าถึงหลักประกันสังคมของสมาชิกทุกคนตามที่ระบุในส่วนที่ ๓
              ของกติกาฯ  ๒๔๖

              ๒๔๔   general comment no.18 E/C.12/GC/18
              ๒๔๕   ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานย้ายถิ่นและสมาชิกในครอบครัว (International Convention on the Protection of the
              Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families)
              ๒๔๖   general comment no.19 E/C.12/GC/19
              ๒๔๗   www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---asia/---ro-bangkok/---sro-bangkok/documents/publication/wcms_125651.pdf
              ๒๔๘   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔ บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและ
              ความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่าง
              ประเทศที่ประเทศไทยมีอยู่แล้ว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้”
                                                                                                          156
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191