Page 185 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 185
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
>> ด้านความมั่นคงทางรายได้ โดยเฉพาะข้าราชการ ลูกจ้างแรงงานนอกระบบ และผู้ที่มีอาชีพอิสระ จ�านวนมากกว่า
๒๔ ล้านคน ซึ่งยังเข้าไม่ถึงสิทธิด้านความมั่นคงทางรายได้ โดยแม้ว่า ปัจจุบัน รัฐบาลจะมีนโยบายเบี้ยยังชีพถ้วนหน้า ซึ่งจะให้กับบุคคลสัญชาติ
ไทยทุกคนที่มีอายุ ๖๐ ปี โดยจะต้องแสดงสิทธิในการขึ้นทะเบียนในอัตราแบบขั้นบันไดโดยได้รับเบี้ยยังชีพ ๖๐๐ - ๑,๐๐๐ บาทต่อเดือน
ถึงอย่างไรก็ตาม จ�านวนเงินดังกล่าวยังไม่เพียงพอกับค่าครองชีพในปัจจุบัน เนื่องจากมีมูลค่าเพียง ๑ ใน ๓ ของค่าเส้นความยากจนของประเทศ
และยังไม่ยั่งยืน เนื่องจากไม่มีกฎหมายรองรับที่จะยกระดับให้เป็นบ�านาญพื้นฐานแก่ประชาชนทุกคน
>> ด้านทัศนคติต่อผู้สูงอายุซึ่งมองเป็นภาระของสังคมมากกว่าที่เห็นความส�าคัญ หรือเป็นการสั่งสมปัญญา
ภูมิรู้ของสังคม ทั้งจากที่สะท้อนผ่านสื่อมวลชนในลักษณะของบุคคลที่อยู่ในสภาวะพึ่งพิง และต้องการการสงเคราะห์ ในขณะที่ตามข้อเท็จ
จริงแล้ว ประชากรผู้สูงอายุร้อยละ ๘๕ มีความสามารถที่จะเป็นทรัพยากรในการพัฒนาประเทศ ส่วนที่เหลือร้อยละ ๑๓ และร้อยละ ๑ จะ
จ�ากัดกิจกรรมอยู่ในครัวเรือน และต้องการการดูแลพึ่งพาจากครอบครัว
๔ การประเมินสถานการณ์
ในส่วนของการประเมินสถานการณ์สิทธิของผู้สูงอายุในปี ๒๕๕๘ กสม. พบประเด็นปัญหา ข้อท้าทาย พร้อมกับมีข้อเสนอแนะต่อแนวทาง
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนส�าหรับกลุ่มผู้สูงอายุ ดังนี้
>> กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ >> การส่งเสริมการด�าเนินโครงการ หรือนโยบาย
ควรก�าหนดนโยบายเสริมสร้างให้มีกลไกและทรัพยากรในการ เพื่อรณรงค์และสนับสนุนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้สูงอายุ
ส่งเสริมสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.๒๕๔๖ เนื่องจากสังคมไทยส่วนใหญ่ยังคงมีทัศนคติต่อผู้สูงอายุ
ให้สู่การปฏิบัติผ่านกลไกรัฐและภาคประชาสังคม ในลักษณะที่เป็นภาระมากกว่าการเห็นศักยภาพที่แท้จริง
>> การบรรจุเป้าหมาย นโยบาย และแผนงานผู้สูงอายุแห่งชาติ >> การสร้างความมั่นคงทางรายได้ในวัยสูงอายุ ด้วยระบบ
ฉบับที่ ๒ ไว้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ บ�านาญแห่งชาติ โดยรัฐบาลควรก�าหนดนโยบายสนับสนุน
ฉบับที่ ๑๒ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ครอบคลุมประชาชน การรณรงค์และให้มีกฎหมายรองรับพระราชบัญญัติ
ทุกกลุ่ม (Leave No One Behind) เพื่อสนับสนุนให้เกิด คณะกรรมการนโยบายบ�าเหน็จบ�านาญแห่งชาติ
การบูรณาการนโนบายด้านผู้สูงอายุของหน่วยงานต่าง ๆ
>> รัฐบาลไทยควรสนับสนุนให้มีอนุสัญญาแห่งสหประชาชาติ
>> การสร้างความตระหนักต่อสังคมในประเด็นผู้สูงอายุ กับการ ว่าด้วยผู้สูงอายุ ตามการสนับสนุนของคณะท�างานเปิด
มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ โดยรัฐบาลจะต้องก�าหนดนโยบาย แห่งสหประชาชาติด้านผู้สูงอายุ (UN Open-End Working
และจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง Group: OEWG) และจะต้องปรับปรุงกฎหมาย นโยบาย
และการด�าเนินงานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่าง
ประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
155