Page 184 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 184
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
สิทธิได้รับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี ทั้งนี้ ปัญหาส�าคัญของสิทธิผู้สูงอายุในประเทศไทย ได้แก่ (๑)
กรณีนี้เป็นเรื่องที่กฎหมายให้สิทธิแก่ผู้สูงอายุได้รับสวัสดิการ การขาดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนการเข้าไม่ถึงสิทธิที่
การฌาปนกิจสงเคราะห์จากรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อเป็นการ ก�าหนดไว้ตามกฎหมาย และนโยบายของรัฐ (๒) การขาด
ช่วยเหลือครอบครัวหรือชุมชนผู้สูงอายุที่เสียชีวิตซึ่งมีภาระมาก กฎหมาย นโยบาย กลไก และทรัพยากร ตลอดจนความ
หรือมีความยากล�าบากในการด�ารงชีวิต การสงเคราะห์ในการจัดการศพ มุ่งมั่นของหน่วยงานที่ปฏิบัติ หรือบังคับใช้กฎหมาย หรือ
ผู้สูงอายุตามประกาศของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ นโยบายในการบูรณาการความร่วมมือ และการปฏิบัติ
มั่นคงของมนุษย์ หมายถึง การช่วยเหลือเป็นเงินในการจัดการศพ งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการ ซึ่งส่งเสริม
ผู้สูงอายุ ตามประเพณีรายละสองพันบาท โดยผู้สูงอายุที่ตายต้อง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และการพัฒนาคุณภาพ
มีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสัญชาติไทย มีฐานะยากจน ชีวิตที่ดี (๓) สังคมโดยส่วนรวมยังขาด หรือมีความตระหนัก
และไม่มีญาติหรือมีแต่ไม่สามารถจัดการศพตามประเพณี ซึ่งบุคคล และเข้าใจสิทธิและสภาวะผู้สูงอายุของสังคมค่อนข้างน้อย และ
ที่รับผิดชอบในการจัดการงานศพผู้สูงอายุมีสิทธิยื่นค�าขอได้ในท้อง มีมายาคติต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อการก�าหนดนโยบายรัฐ และการมี
ที่ที่ผู้สูงอายุถึงแก่ความตายหรือท้องที่อื่น โดยยื่นต่อกรมพัฒนา ส่วนร่วมในสังคมของผู้สูงอายุ และ (๔) การขาดความชัดเจน
สังคมและสวัสดิการ กรณีที่ยื่นในกรุงเทพมหานคร ส่วนในจังหวัดอื่น ในการด�าเนินงานด้านสิทธิของผู้สูงอายุในมาตรการ กลไกทั้ง
ให้ยื่นต่อส�านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในระดับภูมิภาค และสหประชาชาติ รวมถึงปฏิญญาและข้อ
โดยต้องยื่นค�าขอภายในก�าหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ออกใบ ตกลงแห่งสหประชาชาติ บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
มรณบัตร ๒๔๓
๓ สถานการณ์ในปี ๒๕๕๘
จากการตรวจสอบและประเมินสถานการณ์สิทธิของผู้สูงอายุในปี ๒๕๕๘ กสม. พบข้อท้าทายหลัก ๆ ๔ ด้านส�าคัญ คือ
>> ด้านการด�าเนินการส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ ซึ่งครอบคลุม
๔ ประเด็นหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมในการด�ารงชีวิตที่ดี ยังไม่เพียงพอ และท�าให้ผู้สูงอายุโดยส่วนใหญ่
เสียโอกาสในการเข้าถึงสิทธิ ทั้งนี้ ข้อมูลปี ๒๕๕๗ พบว่า ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่า ๑๐ ล้านคน (2015 ESCAP Population
Data Sheet) ในขณะที่พบว่ายังขาดกลไกรัฐและภาคประชาสังคมที่สนับสนุนการด�าเนินการส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ และยังคงมีช่องว่าง
ทางกฎหมายที่จ�ากัดสิทธิของผู้สูงอายุ ในด้านทางเลือกและเข้าถึงการท�างานได้ตามขีดความสามารถที่มีอยู่ หรือได้รับการส่งเสริมพัฒนา
จากรัฐ เช่น พระราชบัญญัติบ�าเหน็จบ�านาญข้าราชการก�าหนดอายุเกษียณการท�างานทั้งภาคราชการที่อายุ ๖๐ ปี และธุรกิจเอกชน
ในขณะที่พระราชบัญญัติแรงงานและประกันสังคม ก�าหนดอายุเกษียณไว้ที่ ๕๕ ปี โดยให้มีสิทธิได้รับบ�าเหน็จบ�านาญได้
>> ด้านการปฏิรูประบบรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยเฉพาะในส่วนของเศรษฐกิจยังขาดความชัดเจน
ดังจะเห็นได้จากจ�านวนประชากรของประเทศไทยที่เปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมของผู้สูงอายุ ในขณะที่โครงสร้างของคณะกรรมการผู้สูงอายุ
แห่งชาติ แผนปฏิบัติการผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ และการด�าเนินการของหน่วยงานต่าง ๆ ยังมิให้ความส�าคัญ ไม่มีนโยบายและแผนการ
ปฏิบัติงานที่ชัดเจนเพียงพอ ขาดการบูรณาการในการปฏิบัติงาน ในขณะที่มีข้อเสนอต่อการออกกฎหมายทั้งการส่งเสริมคุณภาพชีวิต
และอาชีพของผู้สูงอายุที่มุ่งเน้นขยายความครอบคลุมถึงสิทธิของผู้สูงอายุ และการกระจายอ�านาจการบริหารกองทุนผู้สูงอายุ
๒๔๓ ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนการสงเคราะห์ในการจัดการศพ
ตามประเพณี เมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๗
154