Page 183 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 183
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
หลังจากที่มีการยื่นค�าขอแล้วเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจะด�าเนิน
การสอบข้อเท็จจริง และอาจขอหลักฐานของตัวผู้สูงอายุและ
ของผู้ยื่นค�าขอแทนผู้สูงอายุ (กรณีที่บุคคลอื่นเป็นผู้ยื่นค�าขอ
แทนผู้สูงอายุ) ได้แก่ บัตรประจ�าตัวประชาชน และทะเบียน
บ้านพร้อมส�าเนา ผู้สูงอายุที่ยื่นค�าขอดังกล่าว จะได้รับการ
พิจารณาให้ความช่วยเหลือตามสภาพปัญหาที่ประสบ กล่าวคือ
กรณีที่ที่ประสบปัญหาเรื่องที่พักอาศัย ผู้สูงอายุจะได้เข้ารับ
บริการในศูนย์บริการผู้สูงอายุ หรือเข้าอยู่ในความอุปการะ
ของสถานสงเคราะห์คนชรา หรือสถานที่อื่นที่เหมาะสม
ส่วนผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาเรื่องอาหาร และ/หรือเครื่องนุ่งห่ม
จะได้รับการช่วยเหลือเป็นเงิน อาหารและ/หรือเครื่องนุ่งห่ม ซึ่ง
สิทธิในการได้รับค�าแนะน�า ปรึกษา ด�าเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่ประสบความเดือดร้อนเรื่องอาหารและ/หรือเครื่องนุ่งห่ม
ในทางคดี หรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว กฎหมายได้ให้สิทธิ จะได้รับการช่วยเหลือตามความจ�าเป็นและเหมาะสมไม่เกิน
ผู้สูงอายุในเรื่องนี้ โดยแยกพิจารณาได้เป็น ๒ กรณี คือ (๑) สิทธิได้รับ วงเงินครั้งละสองพันบาท และจะมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ
ค�าแนะน�า ปรึกษา ด�าเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีในกรณีที่ ไม่เกินสามครั้งต่อคนต่อปี
ผู้สูงอายุก�าลังประสบปัญหาข้อพิพาทต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิ
เสรีภาพของผู้สูงอายุในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งกระทรวงยุติธรรม สิทธิได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจ�าเป็น
ได้มีประกาศให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุในเรื่องนี้แล้ว ตั้งแต่ อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม การสงเคราะห์เบี้ยยังชีพเป็นการ
๒๕๔๘ เป็นต้นมา และ (๒) สิทธิได้รับค�าแนะน�า ปรึกษา ด�าเนินการ สงเคราะห์แบบให้เปล่าแก่ผู้สูงอายุที่มีฐานะยากจนหรือ
อื่นที่เกี่ยวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว อาทิ การส่งเสริม ถูกทอดทิ้ง หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้
ทักษะการจัดการปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวโดยสันติวิธี ซึ่งปัจจุบันมีการถ่ายโอนภารกิจนี้ให้อยู่ในความรับผิดชอบ
การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว การให้ค�าปรึกษา ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้สูงอายุจะได้รับการ
และประสานเครือข่ายให้ความช่วยเหลือ หรือแก้ไขปัญหา สงเคราะห์เบี้ยยังชีพภายใต้หลักเกณฑ์อย่างน้อย ๓ ประการ คือ
ครอบครัว (๑) ต้องเป็นการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจ�าเป็น โดยมี
การทดสอบและวินิจฉัยก่อนว่า ผู้สูงอายุมีคุณสมบัติครบ
สิทธิในการได้รับบริการการจัดที่พักอาศัย อาหาร ถ้วน และมีความจ�าเป็นหรือเดือดร้อนเพียงใด (๒) ต้องให้การ
และเครื่องนุ่งห่ม ให้ตามความจ�าเป็นอย่างทั่วถึง กรณีนี้ สงเคราะห์อย่างทั่วถึง โดยต้องครอบคลุมผู้สูงอายุในพื้นที่
เป็นเรื่องที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุ ต่าง ๆ ในเขตท้องที่รับผิดชอบ และ (๓) ต้องให้การสงเคราะห์
ด้านที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความจ�าเป็น อย่างเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติกับผู้สูงอายุคนใดคนหนึ่ง หรือให้
อย่างทั่วถึง โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ความเป็นธรรมกับผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตามระเบียบอย่าง
ของมนุษย์ ๒๔๒ ได้ก�าหนดหลักเกณฑ์ในการคุ้มครองว่าผู้ที่จะใช้สิทธิ เท่าเทียม อนึ่ง ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ด�าเนิน
ดังกล่าวจะต้องเป็นผู้สูงอายุซึ่งประสบปัญหาความเดือดร้อน การจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติ
และมีความจ�าเป็นเรื่องที่พักอาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม โดยใช้งบประมาณขององค์กรหรือการขอรับการสนับสนุน
ส่วนการเข้าถึงบริการดังกล่าวอาจท�าได้โดยให้บุคคลหรือองค์กร งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดตามแต่ฐานะ
ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ญาติหรือผู้อุปการะ ผู้น�าชุมชน ของแต่ละแห่ง โดยมีการจ่ายตามอัตราที่กระทรวงมหาดไทย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานพยาบาล สถานีต�ารวจ ก�าหนด คือ คนละ ๓๐๐ บาทต่อเดือนแต่ไม่เกิน ๖๐๐ บาท
แจ้งหรือยื่นค�าขอรับความช่วยเหลือให้แก่ผู้สูงอายุที่ประสบปัญหา ตามแต่ฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง
ความเดือดร้อนและมีความจ�าเป็น โดยยื่นต่อหน่วยงานในสังกัด ซึ่งปัจจุบันมีหลายแห่งที่จ่ายในอัตรา ๕๐๐ บาทต่อเดือน
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
๒๔๒ ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนการจัดที่พักอาศัย อาหารและ
เครื่องนุ่งห่มให้ผู้สูงอายุตามความจ�าเป็นอย่างทั่วถึง เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๘
153