Page 179 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 179

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



        >> สิทธิด้านการศึกษา

        พบว่า คนพิการที่อายุถึงเกณฑ์ต้องเข้ารับการศึกษา แต่ไม่ได้
        รับการศึกษามีจ�านวนมาก เเละผู้ที่ได้รับการศึกษาส่วนใหญ่
        มีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษาเท่านั้น เนื่องจากระบบ
        การศึกษาและสถานศึกษายังไม่มีความพร้อมและไม่ครอบคลุม
        ลักษณะความพิการ สถานศึกษาที่มีความพร้อมและความเหมาะ
        สมยังมีอยู่อย่างจ�านวนจ�ากัด ดังนั้น เพื่อให้คนพิการได้เข้าถึง
        การศึกษาอย่างทั่วถึง รัฐควรด�าเนินการให้สถานศึกษาของรัฐ
        มีบุคลากรและอุปกรณ์ในการศึกษาที่เหมาะสมต่อประเภทของคน
        พิการและมีการด�าเนินการเชิงปฏิบัติการในการส่งเสริม สนับสนุน   จัดสิ่งอ�านวยความสะดวกขั้นพื้นฐานส�าหรับคนพิการเป็นตัวชี้วัด
        ให้คนพิการมีการศึกษาในระดับที่สูงกว่าชั้นประถมศึกษาเนื่องจาก  ประสิทธิภาพในการด�าเนินงานของสถานที่ราชการเพื่อให้เกิด
        การศึกษาเป็นปัจจัยที่ส�าคัญประการหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนา  การส่งเสริมและตระหนักถึงสิทธิของคนพิการในหน่วยงานรัฐ
        ให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งนี้ การศึกษาของคนพิการ
        ยังเป็นองค์ประกอบที่ส�าคัญในการขับเคลื่อนในระบบการจ้างงาน   >> สิทธิการได้รับบริการสาธารณสุข
        ของคนพิการอีกด้วย                                    ส�าหรับคนพิการนั้นการบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ

        >> การจ้างงานคนพิการ                                 เป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งในการด�ารงชีวิตส�าหรับคนพิการ
                                                             ซึ่งสิทธิประโยชน์ที่คนพิการได้รับจากระบบประกันสุขภาพ
        ในประเทศไทยปัจจุบันรัฐได้ออกกฎหมาย เพื่อสนับสนุนและ  ของรัฐแต่ละระบบนั้น  ยังมีความไม่เท่าเทียมกัน  ท�าให้คน
        ส่งเสริมให้มีการจ้างงานคนพิการ ทั้งระดับพระราชบัญญัติและ  พิการไม่ได้รับสิทธิประโยชน์และการบริการที่ครอบคลุม
        กฎหมายล�าดับรองซึ่งเจตนารมณ์แท้จริงของกฎหมายนั้นต้องการ  และทั่วถึงทุกประเภทความพิการอย่างเท่าเทียม  อีกทั้ง
        ส่งเสริมให้มีการจ้างงานคนพิการในระบบแรงงาน เพื่อขยายโอกาส  หากคนพิการเข้าสู่ระบบการจ้างงาน คนพิการก็จะต้องใช้สิทธิ
        ให้คนพิการมีอาชีพ มีงานท�าและมีรายได้ เพราะจะท�าให้คนพิการ  ด้านสาธารณสุขผ่านกองทุนประกันสังคม ซึ่งให้สิทธิประโยชน์
        ได้รับประโยชน์โดยตรง แต่ทางปฏิบัติกลับพบว่าผู้ประกอบการ  น้อยกว่าหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ดังนั้น รัฐควรด�าเนินการ
        ยังคงใช้มาตรการอื่นแทนการจ้างคนพิการ เช่น การส่งเงินเข้า  เพื่อพัฒนาสิทธิประโยชน์ส�าหรับคนพิการเพียงระบบเดียวและ
        กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การให้สัมปทาน  เป็นที่ยอมรับทั้ง ๓ กองทุนเพื่อให้เกิดความเสมอภาคส�าหรับ
        แก่คนพิการ หรือผู้ดูแลคนพิการในการประกอบอาชีพ เป็นต้น
        จึงท�าให้คนพิการไม่ได้รับประโยชน์โดยตรงอย่างเต็มที่ และการ  คนพิการ
        ที่สถานประกอบการเองมีข้อจ�ากัดในเรื่องสถานที่ที่เหมาะสม   >> สิทธิในการมีส่วนร่วมของคนพิการ
        ต่อการประกอบอาชีพของคนพิการ จึงท�าให้ผู้ประกอบการเลือกใช้  ด้านความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมที่ผ่านมา ความพิการ
        วิธีดังกล่าว รัฐอาจมีมาตรการหรือแนวทางในการด�าเนินงานร่วมกับ   เป็นอุปสรรคที่ส�าคัญและส่งผลให้การรวมกลุ่มของคนพิการ
        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดแนวทางการจ้างงานในชุมชน   มึความยากล�าบาก  เนื่องจากการเดินทางเพื่อรวมกลุ่มของ
        ให้กว้างขวางเพื่อสร้างโอกาสให้คนพิการได้ท�างานในภูมิล�าเนาของ   คนพิการนั้นมีภาระค่าใช้จ่ายมากกว่าคนทั่วไป ประกอบกับ
        ตนเองและเป็นทางเลือกให้แก่คนพิการในการพัฒนาศักยภาพ   ผู้พิการส่วนใหญ่อยู่ในชนบทและการมีส่วนร่วมของคนพิการ
        ของตน ท�าให้คนพิการเกิดความภาคภูมิใจและรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง  ยังอยู่ในระดับภาคกิจกรรม  แต่ความต้องการของคนพิการ

        >> สิทธิการเข้าถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็น         คือ ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วม ตั้งแต่การร่วมวางแผนและร่วม
        สาธารณะ                                              ก�าหนดนโยบายกับรัฐ  รวมถึงการมีส่วนร่วมในการติดตาม
                                                             และประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงานของหน่วยงานต่าง ๆ
        ยังคงเป็นปัญหาส�าคัญส�าหรับคนพิการในการด�ารงชีวิต เนื่องจาก
        คนพิการยังไม่สามารถเข้าถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ       ซึ่งที่ผ่านมานั้น  แม้รัฐจะให้ความส�าคัญในเรื่องดังกล่าว
                                                             แต่ยังคงมีคนพิการเข้าไปมีส่วนร่วมในระดับนโยบายและ
        การเดินทาง และข้อมูลข่าวสาร ท�าให้เป็นอุปสรรคต่อการด�ารงชีวิต
        รัฐควรเร่งรัดและติดตามการจัดสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับ   การก�าหนดยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
                                                             จ�านวนน้อยมาก
        คนพิการให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว ทั้งนี้ รัฐควรก�าหนดให้การ








         149
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184