Page 178 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 178

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ศาลปกครองสูงสุดได้มีค�าพิพากษาคดีหมายเลขแดงที่ อ. ๖๕๐/๒๕๕๗ ในวันที่ ๒๑  มกราคม ๒๕๕๘ ให้กรุงเทพมหานครจัดสร้าง
              สิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส  ภายในระยะเวลา  ๑  ปี  โดยให้จัดท�าลิฟท์และอุปกรณ์
              สิ่งอ�านวยความสะดวกในสถานีขนส่งทั้ง ๒๓ สถานี รวมถึงจัดท�าสิ่งอ�านวยความสะดวกบนรถไฟฟ้าบีทีเอส เช่น จัดให้มีที่ว่าง
              ส�าหรับเก้าอี้เข็นคนพิการ  และให้มีราวจับบริเวณทางขึ้นลง  และติดสัญลักษณ์คนพิการไว้ทั้งในและนอกตัวรถคันที่จัดไว้
              ส�าหรับคนพิการนั้น  แต่ถึงอย่างไรก็ตาม  การด�าเนินการตามค�าสั่งศาลปกครองสูงสุดยังไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร
              และไม่สามารถด�าเนินการให้แล้วเสร็จตามก�าหนดเวลาได้ทันทั้งหมดทุกสถานี  ทั้งนี้  กรุงเทพมหานครได้ชี้แจงถึงสาเหตุ
              ที่ไม่สามารถด�าเนินการให้แล้วเสร็จได้ตามก�าหนด เนื่องมาจากปัญหาการรื้อย้ายสาธารณูปโภคใต้ดิน รวมทั้งปัญหาการร้องเรียน
              ต�าแหน่งติดตั้งลิฟท์จากเจ้าของอาคารที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง และจากกรณีดังกล่าวเพื่อประโยชน์และเพื่อความสะดวกในการใช้ชีวิต
              ของคนพิการ รัฐจึงควรติดตามเร่งรัดให้หน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามค�าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดโดยเร็ว

              สิทธิการได้รับบริการสาธารณสุข

              คนพิการเป็นอีกกลุ่มที่ยังคงได้รับผลกระทบจากปัญหาความเหลื่อมล�้าระหว่างระบบประกันสุขภาพภาครัฐ เนื่องจากระบบประกันสุขภาพ
              ของภาครัฐ ได้ก�าหนดสิทธิประโยชน์ให้แก่คนพิการ ซึ่งครอบคลุมประเภทความพิการไม่เท่าเทียมกันในระบบประกันสุขภาพของรัฐ
              ทั้ง ๓ ระบบ โดยพบว่าหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้ครอบคลุมอุปกรณ์ส�าหรับช่วยเหลือคนพิการทุกประเภท ในขณะที่ระบบประกัน
              สังคมครอบคลุมบริการน้อยที่สุด และเมื่อคนพิการเข้าสู่ระบบแรงงานจึงต้องเปลี่ยนจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปเป็นระบบ
              ประกันสังคม ท�าให้คนพิการที่อยู่ในระบบการจ้างงานต้องเสียสิทธิประโยชน์หลายประการจากการเข้าสู่ตลาดการจ้างงานดังกล่าว   บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง



                ๔  การประเมินสถานการณ์


              สถานการณ์การคุ้มครองส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ  Treaty) เป็นต้น จะเห็นได้ว่าในเชิงกฎหมายและนโยบาย
              ในปี ๒๕๕๘ นั้น ประเทศไทยในฐานะรัฐภาคีอนุสัญญาว่าด้วย   ตลอดจนพันธกรณีระหว่างประเทศนั้นรัฐมีการด�าเนินการ
              สิทธิของคนพิการ  มีการด�าเนินการที่มีความก้าวหน้าในมิติของ   ที่มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก  ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ารัฐได้ให้
              รัฐภาคีอนุสัญญา กล่าวคือ รัฐได้ถอนถ้อยแถลงตีความของ  ความส�าคัญในการส่งเสริมให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและให้
              อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ ข้อ๑๘ วรรค ๒ เกี่ยว  คนพิการสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข แต่อย่างไร
              กับสิทธิในการจดทะเบียนเกิด สิทธิในการมีชื่อ และสิทธิในการ  ก็ตาม การแปรนโยบายไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานที่
              ได้สัญชาติของเด็กพิการ เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ๒๓๑   เกี่ยวข้องควรด�าเนินการให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
              รัฐมีความมุ่งมั่นในการแสดงเจตนารมณ์เพื่อส่งเสริมและพัฒนา  เนื่องจากที่ผ่านมาในทางปฏิบัติ คนพิการยังไม่สามารถเข้าถึง
              คุณภาพชีวิตคนพิการ เช่น การเพิ่มอัตราเบี้ยความพิการให้แก่  การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างครอบคลุมทุกพื้นที่  ทั้งนี้
              คนพิการ และกรณีคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ประเทศไทย  รัฐควรปฏิบัติการเชิงรุกและมีการติดตามผลอย่างจริงจังและ
              เข้าเป็นภาคีและให้สัตยาบันต่อพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญา  ต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมถึงบุคลากรผู้มีหน้าที่
              ว่าด้วยสิทธิของคนพิการ รวมถึงกรณีที่คณะรัฐมนตรีได้ให้  รับผิดชอบ ให้ความส�าคัญในการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย
              ความเห็นชอบในหลักการสนธิสัญญามาร์ราเคช (Marrakesh    และแผนยุทธศาสตร์อย่างจริงจัง

              >> บัตรประจ�าตัวคนพิการ

              เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งซึ่งท�าให้คนพิการได้รับการรับรอง ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตจากรัฐ แต่ยังคงมีคนพิการจ�านวนหนึ่งไม่ได้
              อยู่ในระบบฐานข้อมูล เนื่องจากว่าการท�าบัตรประจ�าตัวคนพิการนั้น สังคมไทยส่วนใหญ่ยังคงมองว่าเป็นการตีตรา ท�าให้คนพิการหรือ
              ครอบครัวคนพิการบางส่วนหลีกเลี่ยงการไปลงทะเบียนเพื่อท�าบัตรประจ�าตัวคนพิการ จึงท�าให้ไม่ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพจากรัฐ
              ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ กฎหมายระบุให้คนพิการที่มีสัญชาติไทยเท่านั้นที่สามารถลงทะเบียนและท�าบัตรประจ�าตัวคนพิการได้ ท�าให้
              คนพิการในกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ยังไม่มีสัญชาติหรืออยู่ระหว่างกระบวนการขอสัญชาติไทยไม่ได้รับการรับรองและคุ้มครองสิทธิ
              ตลอดจนโอกาสในการฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเต็มที่จากรัฐ แต่รัฐยังคงให้ความช่วยเหลือคนพิการกลุ่มนี้ตามหลักศักดิ์ศรี
              ความเป็นมนุษย์ตามศักยภาพที่รัฐจะท�าได้



              ๒๓๑   https://treaties.un.org/Pages/ViewDetails.aspx?src=IND&mtdsg_no=IV-15&chapter=4&lang=en#EndDec  สืบค้นวันวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๙

                                                                                                          148
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183