Page 165 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 165

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘




        ทั้งนี้ จากรายงานสถานการณ์สตรี ปี ๒๕๕๘ ได้แสดงสถิติหญิงชายที่ส�าคัญ ๒๐๘  ๑๒ เรื่อง คือ คนยากจน ผู้สูงอายุ ผู้พิการเด็กและเยาวชน
        ผู้อยู่ในเขตชนบทผู้ด้อยโอกาสชาติพันธุ์ ความรุนแรงในครอบครัว ผู้อยู่ในก�าลังแรงงาน ผู้อยู่นอกก�าลังแรงงาน การสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา
        โรคเรื้อรังหรือโรคประจ�าตัว จากจ�านวนประชากรทั้งหมดของประเทศ  ๖๕.๑๐  ล้านคน ซึ่งเป็นชายจ�านวน ๓๒.๐  ล้านคน หญิงจ�านวน ๓๓.๑
        ล้านคน ดังนี้




                     ลักษณะสภาพการใช้ชีวิต                  จ�านวนประชากร (จ�าแนกตามเพศสภาวะ)
          ล�าดับ
                        และสภาวะที่เผชิญ        จ�านวนรวม (คน)        เพศหญิง (คน)          เพศชาย (คน)
          ๑          ภาวะความยากจน                 ๘.๔๑  ล้านคน        ๔.๒๐ ล้านคน           ๔.๒๑ ล้านคน
          ๒          การชราภาพ                     ๙.๑   ล้านคน        ๕.๑   ล้านคน          ๔.๐   ล้านคน

          ๓          ภาวะทุพลภาพ                ๑๖.๔   ล้านคน          ๗.๕   ล้านคน               ๘.๙   ล้านคน
          ๔          เด็กและเยาวชน              ๒๑.๑   ล้านคน          ๑๐.๓   ล้านคน            ๑๐.๘   ล้านคน
          ๕          ผู้ที่อยู่อาศัยในชนบท      ๒๕.๔๔ ล้านคน             ๑๐.๕๔ ล้านคน           ๑๔.๙   ล้านคน
          ๖          ผู้ด้อยโอกาส               ๑๑.๓  หมื่นคน             ๖.๔๐ หมื่นคน        ๔.๙   หมื่นคน
          ๗          กลุ่มชาติพันธุ์               ๖.๙    เเสนคน          ๓.๔   เเสนคน       ๓.๕   เเสนคน
          ๘          ความรุนแรงในครอบครัว             ๑,๐๘๒ คน
                     • ผู้กระท�า                         ๑,๑๐๑ คน                    ๑๒๖ คน                   ๙๕๖ คน

                     • ผู้ถูกกระท�า             ๓๘.๘    ล้านคน                     ๙๙๖ คน                   ๑๐๕ คน
          ๙          ผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน      ๓๘.๔    ล้านคน        ๑๗.๗   ล้านคน             ๒๑.๑   ล้านคน
          ๙.๑        ผู้มีงานท�า                ๑๔.๑    ล้านคน        ๑๗.๕   ล้านคน             ๒๐.๙   ล้านคน
                     • แรงงานในระบบ             ๒๔.๓    ล้านคน         ๖.๕   ล้านคน          ๗.๖   ล้านคน
                     • แรงงานนอกระบบ              ๓.๓    ล้านคน       ๑๑.๑   ล้านคน             ๑๓.๒   ล้านคน
          ๙.๒        ผู้ว่างงาน                   ๖.๔    หมื่นคน       ๑.๕   ล้านคน          ๑.๘   ล้านคน
          ๙.๓        ผู้รอฤดูกาล                ๑๖.๑    ล้านคน         ๒.๗   ล้านคน          ๓.๗   ล้านคน
          ๑๐         ผู้อยู่นอกก�าลังแรงงาน       ๔.๘    ล้านคน           ๑๐.๖   ล้านคน       ๕.๕   ล้านคน
                     • ผู้ท�างานที่บ้าน           ๔.๔    ล้านคน        ๔.๖   ล้านคน          ๐.๒   ล้านคน

                     • ผู้ที่ก�าลังเรียน          ๖.๙    ล้านคน        ๒.๓  ล้านคน           ๒.๑   ล้านคน
                     • อื่น ๆ (เด็ก ผู้สูงอายุ หรือ                    ๓.๗   ล้านคน          ๓.๒   ล้านคน
                     คนพิการไม่สามารถท�างานได้)
          ๑๑         สูบบุหรี่/ดื่มสุรา
                     • ผู้ที่สูบบุหรี่          ๑๑.๓    ล้านคน         ๐.๖   ล้านคน             ๑๐.๗   ล้านคน
                     • ผู้ที่ดื่มสุรา           ๑๗.๗    ล้านคน         ๓.๗   ล้านคน             ๑๔.๐   ล้านคน
          ๑๒         โรคเรื้อรัง/โรคประจ�าตัว    ๑๑.๕    ล้านคน        ๖.๗   ล้านคน          ๔.๘   ล้านคน

         ที่มา: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (๒๕๕๘). รายงานสถานการณ์สตรี ๒๕๕๘ “๒ ทศวรรษปฏิญญาปักกิ่งฯ: เสริมพลังสตรีสร้างพลังสังคม”. หน้า ๑๕











        ๒๐๘   กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (๒๕๕๘). รายงานสถานการณ์สตรี ๒๕๕๘ “๒ ทศวรรษปฏิญญาปักกิ่งฯ: เสริมพลังสตรีสร้างพลังสังคม”. หน้า ๑๕



         135
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170