Page 170 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 170

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
























              ส่วนค่าดัชนีความไม่เสมอภาคหญิงชาย (Gender Inequality    โดยผู้ชายอันเป็นสิ่งส�าคัญที่ขัดขวางความก้าวหน้าของผู้หญิง
              Index - GII) ซึ่งเป็นดัชนีที่สะท้อนความไม่เท่าเทียมกันระหว่างหญิง  ซึ่งสถานการณ์ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกิดขึ้นปี๒๕๕๘
              และชายของแต่ละประเทศ พบว่า ประเทศไทยมีค่าดัชนีดังกล่าว  เมื่อพิจารณาจากสถิติความรุนแรงที่ผู้หญิงเป็นผู้ถูกกระท�า
              เท่ากับ ๐.๓๘๐ โดยมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับรายงานฯ ปี ๒๕๕๗    พบว่าเพิ่มจ�านวนขึ้นในทุกประเภทความรุนแรง เมื่อเทียบจาก
                               ๒๒๑
              ซึ่งที่มีค่าเท่ากับ ๐.๓๖๔  หมายถึง ประเทศไทยมีความไม่เท่า  ปี ๒๕๕๗
              เทียมระหว่างหญิงและชายลดต�่าลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา อย่างไร  จากสถานการณ์ของผู้หญิงที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๘ ดังกล่าวข้างต้น   บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
              ก็ตาม เมื่อพิจารณาค่าตัวชี้วัดย่อยใน ๓ ด้าน คือ ด้านอนามัยเจริญ  จะเห็นว่าผู้หญิงยังคงมีสถานการณ์ที่ยังคงมีความเหลื่อมล�้า
              พันธุ์ ด้านการเสริมพลังอ�านาจ และด้านตลาดแรงงาน จะพบว่าค่า  หรือเกิดความไม่เท่าเทียมกับผู้ชายในหลายประเด็น อาทิ
              ของตัวชี้วัดย่อยในแต่ละด้านยังคงแสดงให้เห็นว่า ยังมีความไม่เท่า  การมีส่วนร่วมและโอกาสในการเข้าถึงโอกาสทางการเมือง
              เทียมระหว่างหญิงและชายในประเทศไทย โดยเฉพาะค่าตัวชี้วัดย่อย   ทางเศรษฐกิจ และความรุนแรงที่ยังคงเกิดขึ้นกับผู้หญิง
              ในด้านตลาดแรงงาน ซึ่งอัตราการมีส่วนร่วมในก�าลังแรงงาน    ของสังคมไทย ซึ่งปัญหาเหล่านี้ประเทศไทยในฐานะรัฐภาคี
              (labour force participation rate) ของผู้ชายมีสัดส่วนที่สูงกว่า  ของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุก
              ผู้หญิง (ชาย = ๘๐.๗ หญิง = ๖๔.๓)                   รูปแบบ รวมถึงการรับมาซึ่งข้อเสนอแนะจากกลไกระหว่าง
              การเสริมสร้างพลังอ�านาจของผู้หญิง  สถานการณ์       ประเทศ จึงมีพันธสัญญาหรือข้อผูกพันในการด�าเนินการใด ๆ
              ในปี ๒๕๕๘  เมื่อพิจารณาผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภา  เพื่อให้สิทธิที่พึงมีแก่ผู้หญิงเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อ
              แห่งชาติ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดสากลที่สะท้อนให้เห็นถึงอ�านาจและ   ผู้หญิง  ซึ่งเป็นการละเมิดหลักการความเสมอภาคและ
              การตัดสินใจของผู้หญิงของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยในส่วนของ   การเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
              ประเทศไทยค่าตัวชี้วัดดังกล่าวไม่เปลี่ยนแปลงหากเทียบกับ   ดังนั้น รัฐซึ่งมีหน้าที่ในการเคารพ (Obligation to Respect)
              ปีที่ผ่านมา (ปี ๒๕๕๗) เนื่องจากมีค่าคงที่อยู่ที่ ร้อยละ ๖.๑ แต่อย่างไร  หน้าที่ในการคุ้มครอง (Obligation to Protect)   และหน้าที่ในการ
              ก็ตาม เมื่อพิจารณาสัดส่วนดังกล่าวเปรียบเทียบกับประเทศต่าง ๆ   ท�าให้สิทธิเกิดผลในทางปฏิบัติ ในการจัดท�าหรืออ�านวยการให้
              เท่าโลก พบว่า ประเทศไทยมีสัดส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่ง  เกิดขึ้นจริง (Obligation to Fulfill) จึงควรด�าเนินการส่งเสริม
              ในรัฐสภาแห่งชาติในสัดส่วนที่น้อยมาก โดยอยู่ในล�าดับที่ ๑๗๒    ให้เกิดความเสมอภาคด้วยการออกมาตรการที่เหมาะสม
              จากทั้งหมด ๑๘๕ ล�าดับ ของประเทศทั้งหมด ๑๙๑ ประเทศ  และมาตรการพิเศษชั่วคราว การเสริมสร้างการมีส่วนร่วม
              ทั่วโลก อีกทั้งเมื่อพิจารณาตั้งแต่ ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๘ จะเห็นว่า    ทางการเมืองของผู้หญิง  เช่น การกระตุ้นให้พรรคการเมือง
                                                                                 ๒๒๒
              ปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีค่าสัดส่วนผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่ง   ใช้ระบบสัดส่วน จัดการฝึกอบรมและสร้างความตระหนักเกี่ยว
              ในรัฐสภาแห่งชาติ น้อยที่สุดในรอบ ๑๐ ปี             กับความส�าคัญของผู้หญิงในการตัดสินใจทุกระดับ และในเวที

              ความรุนแรงต่อผู้หญิง  ปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงสะท้อน   นานาชาติ การส่งเสริมการออกนโยบายและก�าหนดกลไกและ
              ให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอ�านาจที่ไม่เท่าเทียมระหว่างผู้หญิง  มาตรการในการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพที่จะท�าให้ผู้หญิง
              และผู้ชาย ซึ่งน�าไปสู่ความครอบง�าและการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง  ที่ถูกละเมิดสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้




              ๒๒๑    หนังสือกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่ พม ๐๒๑๐/๕๑๑๘ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๙.
              ๒๒๒    United Nations Development Fund for Women. (UNIFEM CEDAW SEAP-Thailand). ข้อแสนอแนะของคณะกรรมการ CEDAW (CEDAW Committee’s Concluding
              Comments) ๒๐ มกราคม ๒๕๔๙. พันธสัญญาที่รัฐต้องด�าเนินการ
                                                                                                          140
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175