Page 169 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 169
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
เมื่อพิจารณาจากการถูกกระท�ารุนแรง ๒๑๖ และผู้ถูกกระท�าเป็นหญิง นอกจากนี้ ยังพบว่าในทุกประเภทความรุนแรงที่เกิดกับ
พบว่า ประเภทความรุนแรงที่เกิดกับผู้ถูกกระท�าที่เป็นหญิง เหตุการณ์ ผู้ถูกกระท�าที่เป็นหญิงมีอัตราการเพิ่มขึ้นของเหตุการณ์
ความรุนแรงทางร่างกาย (การใช้อาวุธ และการทุบตี ท�าร้ายร่างกาย) ความรุนแรงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๗ ยกเว้นประเภทเหตุการณ์
มีจ�านวนสูงที่สุดเช่นกัน โดยมีจ�านวน ๕๕๗ เหตุการณ์ ล�าดับ ความรุนแรงทางเพศ ซึ่งในปี ๒๕๕๘ มีจ�านวนลดลงเมื่อเทียบกับ
ถัดมา คือ เหตุการณ์ความรุนแรงทางจิตใจ (การใช้กิริยา ค�าพูด ปีที่ผ่านมา โดยมีจ�านวนลดลงจากปี ๒๕๕๗ จ�านวน ๒๓ เหตุการณ์
การกลั่นแกล้ง การทรมานให้เจ็บช�้าน�้าใจ การหึงหวง การเลือกปฏิบัติ คิดเป็นลดลง ร้อยละ ๓๐.๖๗ นอกนั้นเป็นกรณีที่ไม่สามารถระบุ
และการแสวงประโยชน์) จ�านวน ๒๔๘ เหตุการณ์ เหตุการณ์ ประเภทความรุนแรงได้ ซึ่งในปี ๒๕๕๘ ไม่สามารถระบุประเภท
ความรุนแรงทางสังคม จ�านวน ๗๓ เหตุการณ์ เหตุการณ์ความ เหตุการณ์ความรุนแรงได้ จ�านวน ๑ เหตุการณ์
รุนแรงทางเพศ (การล่วงละเมิดทางเพศ การใช้วาจาลามก การ
บังคับให้มีเพศสัมพันธ์) จ�านวน ๓๔ เหตุการณ์ ตามล�าดับ
นอกนั้นเป็นเหตุการณ์อื่น ๆ และไม่สามารถระบุได้
๔ การประเมินสถานการณ์
ปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีสถานการณ์ความก้าวหน้าและถดถอยในประเด็นสิทธิของผู้หญิงหลายประการ โดยในส่วนของการด�าเนินการของ
ภาครัฐที่ส�าคัญในปี ๒๕๕๘ คือ การประกาศใช้กฎหมายภายในประเทศเพื่อก�าหนดมาตรการคุ้มครองผู้ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่าง
เพศและป้องกันมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ ๒๑๗ คือ พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งการด�าเนิน
การดังกล่าวเป็นไปตามกรอบเวลาด�าเนินการ (๒๕๕๖ – ๒๕๕๘) ที่ประเทศไทยเคยวางไว้ตามแผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่ประเทศไทยได้
รับภายใต้กลไก UPR
สถานการณ์ผู้หญิง จากข้อมูลสถิติหญิงและชายของประเทศไทย ผู้ชาย (๔.๖ > ๐.๒ ล้านคน) คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๘๓ ซึ่งตัวเลขสถิติ
จากรายงานสถานการณ์สตรี ปี ๒๕๕๘ พบว่า มีตัวเลขสถิติหลายตัว ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงสถานการณ์ความเหลื่อมล�้าระหว่างหญิง
ที่สะท้อนให้เห็นว่ายังมีความแตกต่างระหว่างหญิงและชาย และชายที่ยังมีอยู่ในประเทศไทย
ในประเด็นที่น่าห่วงใยหลายประเด็น อาทิ การเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย จากรายงานการพัฒนามนุษย์
ผู้หญิงมีจ�านวนมากกว่าผู้ชาย (๕.๑ > ๔.๐ ล้านคน) คิดเป็น ปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีค่าดัชนีการพัฒนามิติหญิงชาย (Gender
ร้อยละ ๕๖.๐๔ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ผู้หญิงมีจ�านวน Development Index - GDI) ซึ่งเป็นดัชนีที่วัดระดับการได้รับการ
มากกว่าผู้ชาย (๖.๔๐ > ๔.๙ หมื่นคน) คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๖๔ พัฒนาของผู้หญิงเมื่อเปรียบกับผู้ชายในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ๒๑๙
จ�านวนผู้หญิงที่มีงานท�า มีจ�านวนน้อยกว่าผู้ชาย (๑๗.๕ < เท่ากับ ๑ หมายถึง ไม่มีความแตกต่างกันในการพัฒนาของหญิง
๒๐.๙ ล้านคน) คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๕๗ นอกจากนั้น ผู้หญิง และชาย อีกทั้งค่าดัชนีดังกล่าวยังมีค่าเพิ่มมากขึ้น เมื่อเทียบกับ
๒๒๐
ยังเป็นผู้อยู่นอกก�าลังแรงงานจ�านวนมากกว่าผู้ชาย (๑๐.๖ > รายงานฯ ปี ๒๕๕๗ ซึ่งที่มีค่าเท่ากับ ๐.๙๙๐
๕.๕ ล้านคน) คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๘๔ โดยในเรื่องการท�างานบ้าน
๒๑๘
ซึ่งเป็นการท�างานที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ผู้หญิงก็มีจ�านวนมากกว่า
๒๑๖ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ การกระท�ารุนแรงทางกาย หมายถึง การใช้ก�าลังและ/หรือ อุปกรณ์ใด ๆ เป็นอาวุธท�าร้ายร่างกายเกินกว่าเหตุ มีผลท�าให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ การกระท�ารุนแรง
ทางจิต หมายถึง การกระท�าใด ๆ ที่มีผลให้ผู้ถูกกระท�าได้รับความกระทบกระเทือนด้านจิตใจหรือเสียสิทธิเสรีภาพ ได้แก่ การทอดทิ้ง การดูถูก เหยียดหยาม หรือดุด่า การกักขังหน่วงเหนี่ยว
การกระท�ารุนแรงทางเพศ หมายถึง การกระท�าที่มีผลให้ผู้ถูกกระท�าได้รับความกระทบกระเทือนหรือเสียหายเกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ ได้แก่ การถูกข่มขืน การถูกลวนลาม อนาจาร และการถูกบังคับค้า
ประเวณี (ศูนย์ข้อมูลความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว. นิยามค�าศัพท์ “การถูกกระท�ารุนแรง”. www.violence.in.th)
๒๑๗ หมายเหตุท้ายพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘
๒๑๘ หมายถึง รายได้ประจ�าเฉลี่ยต่อคนต่อเดือน ประกอบด้วย ค่าจ้างและเงินเดือน, ก�าไรสุทธิจากการประกอบธุรกิจ, รายได้จากทรัพย์สิน, รายได้ที่ไม่เป็นตัวเงิน เช่น เงินได้รับเป็นการช่วยเหลือ มูลค่า
สินค้าและบริการ เป็นต้น. (ส�านักงานสถิติแห่งชาติ. แผนที่ความยากจน. www.nso.go.th)
๒๑๙ ส�านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (๒๕๕๒). มาตรฐานและตัวชี้วัดความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย Thailand National Standard and Indicators on Gender Equality. หน้า ๑๔.
๒๒๐ หมายเหตุ: ค่าที่ค�านวณได้ของแต่ละประเทศจะมีค่าระหว่าง ๐ - ๑ (ค่าที่เข้าใกล้ศูนย์ถือว่ามีการพัฒนาน้อย และค่าที่เข้าใกล้ ๑ ถือว่ามีการพัฒนามาก.(สันติพจน์ กลับดี. ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของ
กลุ่มประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน. จาก http://thailand.prd.go.th/1700ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=4436&filename=index. ค้นเมื่อ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๙.)
139