Page 161 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 161
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๓.๓ ด้านการปกป้องคุ้มครองเด็กจากการใช้แรงงาน โดยทีมสหวิชาชีพ และ (๕) การปฏิบัติตามแผนระดับชาติ เพื่อขจัด
ที่ผิดกฎหมายและการตกเป็นเหยื่อของขบวนการ การใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย ฉบับที่ ๑ พ.ศ.
ค้ามนุษย์ ๒๕๕๒ - ๒๕๕๙ และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ จาก
ความพยายามในการด�าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
รัฐได้ด�าเนินการในการแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานเด็กผ่าน ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับการปรับระดับขึ้นจากประเทศ
มาตรการต่าง ๆ ดังนี้ (๑) การแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบาย ที่มีความก้าวหน้าปานกลางในการแก้ไขปัญหาแรงงานเด็ก
การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ (๒) การออก เป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าอย่างส�าคัญ ซึ่งเป็นระดับสูงสุด
กฎกระทรวงแรงงาน ก�าหนดอายุขั้นต�่าของแรงงานใน จากการจัดอันดับของรายงานสถานการณ์และการจัดการ
ภาคเกษตรจากอายุ ๑๓ ปี เป็น ๑๕ ปี และการท�างานในเรือ การใช้แรงงานเด็กในรูปแบบเลวร้ายที่สุด (Findings on the Worst
ประมงจากอายุ ๑๖ ปี เป็น ๑๘ ปี (๓) การจัดสรรงบประมาณ Forms of Child Labor) ประจ�าปี ๒๕๕๗ ของกระทรวงแรงงาน
ของรัฐบาลเพื่อยุติการใช้แรงงานเด็กและสนับสนุนโครงการ สหรัฐอเมริกา ๑๙๙
ต่าง ๆ ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (๔) การตรวจแรงงานเชิงรุก
อย่างไรก็ดี จากผลการส�ารวจสถานการณ์เด็กท�างานและแรงงานเด็กในประเทศไทยของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานร่วมกับส�านักงาน
สถิติแห่งชาติ พบว่า ในปี ๒๕๕๘ เด็กอายุระหว่าง ๕ - ๑๗ ปี ที่ท�างานซึ่งไม่เป็นอันตราย หรือท�างานที่รับรายได้มากกว่า ๔๘ ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์มีจ�านวน ๖๙๒,๘๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๔ โดยแบ่งเป็น ท�างานด้านเกษตรสูงสุด ร้อยละ ๕๓ รองลงมาเป็นงานค้าขาย ร้อยละ
๑๘.๗ งานร้านอาหาร/ภัตตาคาร ร้อยละ ๑๑.๗ และด้านอื่น ๆ ร้อยละ ๖.๘ ในขณะที่พบเด็กที่ท�างานเข้าข่ายงานอันตราย จ�านวน ๘๕.๘๐ คน
คิดเป็นร้อยละ ๐.๘ ๒๐๐
แม้ว่ารัฐจะมีมาตรการและความพยายามในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็กที่เพิ่มมากขึ้นในปี ๒๕๕๘ แต่ยังปรากฏสถานการณ์
เด็กที่มีความน่าห่วงกังวลหลายประการ ได้แก่ สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สถานการณ์เด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
และสถานการณ์เด็กข้ามชาติ ๒๐๑
๓.๔ สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก
สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็กในปี ๒๕๕๘ พบว่า มีข้อมูลสถิติเด็กที่ถูกกระท�า
รุนแรงจ�านวน ๑๐,๗๑๒ ราย เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๗ ที่มีข้อมูล
สถิติจ�านวน ๖,๓๓๓ ราย ๒๐๒ ในจ�านวนเด็กที่ถูกกระท�ารุนแรงร้อยละ ๙๐
เป็นเด็กหญิง อายุระหว่าง ๑๐-๑๕ ปี ลักษณะการกระท�ารุนแรงอันดับหนึ่ง
เป็นคดีทางเพศ การข่มขืน กระท�าช�าเรา ล่วงละเมิดทางเพศ อันดับสองเป็นการ
กระท�ารุนแรงต่อร่างกาย การกักขัง บังคับ ทุบตี โดยผู้ที่กระท�าความรุนแรง
ส่วนใหญ่เป็นบุคคลใกล้ชิด ที่เด็กรู้จักและไว้วางใจ เช่น บุคคลในครอบครัว เพื่อน
แฟน ครู/อาจารย์ เป็นต้น โดยมีสาเหตุหรือแรงจูงใจให้เกิดการกระท�าความรุนแรง
จากสภาพแวดล้อม การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด และสภาพปัญหาทางเศรษฐกิจ ๒๐๓
๑๙๙ กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ, “รายงานสถานการณ์และการจัดการการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบเลวร้ายที่สุด (Findings on the Worst Forms of Child Labor) ประจ�าปี
๒๕๕๗”, http://www.mfa.go.th (สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๘)
๒๐๐ โพสต์ทูเดย์, “พบแรงงานเด็กกว่า ๓ แสนราย จากเด็ก๑๐.๘ ล้านคน”, http://www.posttoday.com/social/general/434990 (สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
๒๐๑ อ้างอิงเนื้อหาสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้, หน้า ๖๕
๒๐๒ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, “เรื่องเดิม”
๒๐๓ มติชน ออนไลน์, “สถิติความรุนแรงเด็ก-สตรีพุ่งทุกปี ชี้ค่านิยมชายเป็นใหญ่ เหยื่อไม่กล้าฟ้องเกรงอับอาย”, http://www.matichon. co.th/ news_detail.php?newsid=1447757640
(สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
131