Page 160 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 160
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
สถานการณ์เด็กในพื้นที่ภาคใต้ มีจ�านวนเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก Children พบว่า ร้อยละ ๔๖ ของเด็กข้ามชาติไม่ได้อยู่ในระบบ
เหตุการณ์ความไม่สงบตั้งแต่ปี ๒๕๔๗-๒๕๕๘ จ�านวน ๕๕๑ คน การศึกษาและอัตราของเด็กข้ามชาติที่ศึกษาในระดับ
ในจ�านวนนี้เสียชีวิต ๘๖ คน และได้รับบาดเจ็บ ๔๖๕ คน ๑๙๓ มัธยมศึกษามีจ�านวนน้อย โรงเรียนบางแห่งไม่รับเด็กข้ามชาติ
รวมถึงมีจ�านวนเด็กก�าพร้าที่สูญเสียผู้ปกครองจากเหตุการณ์ เข้าเรียนเนื่องจากปัญหาด้านเอกสารหลักฐาน ๑๙๕ รวมถึงทัศนคติ
ความไม่สงบ จ�านวน ๙,๘๐๖ คน ๑๙๔ ของผู้ปกครองที่ไม่สนับสนุนให้เด็กเข้าเรียน เพราะสาเหตุ
นอกจากนี้ ยังมีในส่วนของสถานการณ์เด็กข้ามชาติในประเทศไทย ในเรื่องของค่าใช้จ่ายและความไม่มั่นคงทางการงานของ
ที่เข้ามาโดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มเด็กข้ามชาติที่เข้ามา ผู้ปกครองที่อาจจะต้องย้ายที่ท�างานไปยังสถานที่ต่าง ๆ
เพื่อเป็นแรงงาน กลุ่มที่ติดตามพ่อแม่ซึ่งเป็นแรงงานข้ามชาติ อยู่บ่อยครั้ง รวมถึงบางครอบครัวมีแผนที่จะเดินทางกลับ
กลุ่มที่เกิดขณะที่พ่อแม่เข้ามาเป็นแรงงาน และกลุ่มที่เข้ามาโดยผ่าน ประเทศต้นทางในระยะเวลาอันใกล้
ขบวนการค้ามนุษย์ จากผลการส�ารวจขององค์กร Save the
๓ สถานการณ์ในปี ๒๕๕๘
ในปี ๒๕๕๘ รัฐบาลมีมาตรการในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็กเพิ่มมากขึ้นหลายประการ ดังนี้
๓.๑ ด้านการอยู่รอดและได้รับการพัฒนา บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
รัฐได้มีการด�าเนินโครงการอุดหนุนเด็กแรกเกิด ๔๐๐ บาท/เดือน
เป็นเวลา ๑๒ เดือน ๑๙๖ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการจัดสวัสดิการ
พื้นฐานเพื่อสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคมและ เป็นหลักประกัน
สิทธิขั้นพื้นฐานให้เด็กแรกเกิดได้รับการเลี้ยงดูที่มีคุณภาพ รวมทั้ง
เป็นมาตรการจูงใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก น�าเด็กเข้ารับ
บริการทางสาธารณสุขที่มีคุณภาพอย่างเป็นระบบ
๓.๒ ด้านการปกป้องคุ้มครองเด็กจากการกระท�ารุนแรง
รัฐได้ให้ความส�าคัญในการคุ้มครองและเยียวยาเด็กที่ได้รับ
ความรุนแรงผ่านมาตรการต่าง ๆ อาทิ การน�าระบบการบันทึกประวัติ อนาจารเด็ก โดยก�าหนดให้การครอบครองสื่อลามกอนาจาร
ครูที่เคยกระท�าผิดต่อนักเรียนมาใช้ เพื่อเป็นข้อมูลในการตรวจสอบ เด็กเพื่อแสวงหาประโยชน์ทางเพศของตนเองและผู้อื่น มีโทษ
ประวัติ รวมถึงช่วยลดและป้องกันการกระท�าความผิดซ�้าสอง จ�าคุกสูงสุด ๕ ปี หรือปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจ�า
ของครู และมีมาตรการในการดูแลและให้ความช่วยเหลือเด็กที่ ทั้งปรับ และก�าหนดให้การส่งต่อแก่ผู้อื่นมีโทษจ�าคุกสูงสุด ๗ ปี
๑๙๗
ถูกกระท�ารุนแรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจและทางเพศ ผ่านการจัดตั้ง หรือ ปรับไม่เกิน ๑๔๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจ�าทั้งปรับ ส�าหรับ
ศูนย์เพื่อให้ความช่วยเหลือ เป็นต้น นอกจากนี้ จากพัฒนาการ ความผิดในการท�า ผลิต มีไว้ น�าเข้าหรือส่งออกหรือเผยแพร่
ความซับซ้อนในการละเมิดทางเพศต่อเด็ก รวมถึงการน�าเด็ก สื่อลามกอนาจารเด็กด้วยวิธีใด ๆ การค้า การแจกจ่ายการแสดง
เข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องทางเพศ สื่อลามกอนาจารที่เพิ่มมากขึ้น หรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการค้า สื่อลามกอนาจารเด็ก
รัฐได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ในส่วนของ การโฆษณาว่าสื่อลามกอนาจารเด็กจะหาได้จากบุคคลใด
ความผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็ก โดยได้ก�าหนดบทลงโทษ หรือโดยวิธีใด ให้มีโทษจ�าคุกตั้งแต่ ๓-๑๐ ปี และปรับตั้งแต่
เป็นการเฉพาะกับผู้ที่กระท�าผิดในลักษณะมีไว้ ส่งต่อและเพื่อ ๖๐,๐๐๐-๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑๙๘
ประโยชน์ทางการค้า เพื่อป้องกันและขจัดปัญหาสื่อลามก
๑๙๓ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้, “สถานการณ์เด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้: ๑๑ ปี ของเด็กและเยาวชนในวังวนแห่งความรุนแรง”, http: //www.deepsouthwatch.org/
node/6656 (สืบค้นเมื่อ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๙)
๑๙๔ โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้, “ศวชต.เปิดข้อมูลเด็กก�าพร้าจากไฟใต้กว่า ๙ พัน พบเงินเยียวยาถึงเด็กน้อย ต้องดูแลด้านจิตใจ”, http:// deepsouthwatch.org/node/8414
(สืบค้นเมื่อ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๙)
๑๙๕ ประชาไท, “เครือข่ายท�างานประชากรข้ามชาติ ห่วงใช้แรงงานทาสในธุรกิจประมง”, http://prachatai.org/journal/2015 /12/63058 (สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
๑๙๖ เดือนมีนาคม ๒๕๕๙ รัฐได้เพิ่มวงเงินเป็น ๖๐๐ บาท/เดือน และขยายเวลาการจ่ายเงินเป็นตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ ๓ ปี
๑๙๗ ตามมาตรา ๒๘๗/๑ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๔)
๑๙๘ ตามมาตรา ๒๘๗/๒ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๔)
130