Page 162 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 162

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ลักษณะความรุนเเรงต่อเด็ก ปี พ.ศ.๒๕๕๘



                                      ๖๗๓
                             ๖๓๘
                                            ๒๕๕

                                                                 ร่างกาย
                                                  ๒,๔๗๐          เพศ
                ๖,๗๔๐
                                                                 จิตใจ

                                                                 ถูกทอดทิ้ง

                                                                 การล่อลวงเเละเเสวงหาผลประโยชน์






              ๓.๕  สถานการณ์เด็กข้ามชาติ

              นอกจากปัญหาในเรื่องของการเข้าถึงการศึกษาของกลุ่ม                                                       บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
              เด็กข้ามชาติแล้วพบว่า ปัญหาในเรื่องของเอกสารเป็นประเด็น
              ส�าคัญที่ส่งผลกระทบต่อเด็กในมิติอื่น  ๆ  ที่นอกเหนือจาก
              ข้อจ�ากัดในการศึกษาต่อ  ได้แก่  ข้อจ�ากัดในการรับบริการ
              สาธารณสุข  และการขาดหลักฐานในการยืนยันหรือพิสูจน์
              ความมีตัวตน เป็นต้น ทั้งนี้ ในส่วนของเด็กข้ามชาติที่เกิดขณะ
              ที่พ่อแม่เข้ามาท�างานในประเทศไทย พบปัญหาในกระบวนการ
              ขอออกสูติบัตร  ซึ่งแม้ว่าพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร
              (ฉบับที่  ๒)  พ.ศ.  ๒๕๕๑  ก�าหนดให้นายทะเบียนสามารถ
              รับรองการเกิดให้กับเด็กที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นแรงงานข้ามชาติ   ดังกล่าว ทั้งนี้ เนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ผู้ปกครอง
              และให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกสูติบัตรให้ตามแบบพิมพ์   ไม่ด�าเนินการเพื่อขอเอกสารให้เด็ก กระบวนการด�าเนินงาน
              ที่ผู้อ�านวยการทะเบียนกลางก�าหนด (ท.ร. ๐๓ หรือ ท.ร. ๐๓๑)   ในบางขั้นตอนยังขาดประสิทธิภาพ เป็นต้น ท�าให้เด็กไม่มี
              เพื่อเป็นหลักฐานทางราชการที่ยืนยันการมีตัวตนของเด็ก    เอกสารในการยืนยันการมีตัวตน ซึ่งเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อ
              แต่เด็กข้ามชาติบางส่วนยังประสบปัญหาจากกระบวนการ     การค้ามนุษย์และถูกแสวงหาประโยชน์





                ๔  การประเมินสถานการณ์



              ๔.๑ สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก

              แม้ว่าในปี ๒๕๕๘ รัฐได้ด�าเนินการในหลาย ๆ มาตรการที่แสดงให้เห็นถึงการให้ความส�าคัญต่อการส่งเสริมและคุ้มครองเด็กจากการ
              กระท�ารุนแรง แต่การปรากฏตัวเลขเด็กที่ได้รับการกระท�ารุนแรงในจ�านวนที่สูงนั้น รัฐจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการน�ามาตรการ
              ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล รวมถึงการขจัดสาเหตุที่จะน�าไปสู่การกระท�ารุนแรง ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาสื่อลามกอนาจาร
              และปัญหาความเหลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ตลอดจนมีมาตรการและแนวทางที่มีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ได้รับ
              ผลกระทบจากการกระท�ารุนแรงที่เหมาะสม ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ






                                                                                                          132
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167