Page 167 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 167
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ประเด็นที่ ๒
การเสริมสร้างพลังอ�านาจของผู้หญิง (Women’s Empowerment)
ปี ๒๕๕๘ ประเทศไทย มีจ�านวนผู้ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติทั้งหมด ๑๙๗ ที่นั่ง ในที่นี้เป็นผู้หญิงจ�านวน ๑๒ ที่นั่งคิดเป็น
ร้อยละ ๖.๑ ถูกจัดอยู่ในล�าดับที่ ๑๗๒ จากทั้งหมด ๑๘๕ ล�าดับ ของประเทศทั้งหมด ๑๙๑ ประเทศทั่วโลก (ข้อมูล ณ วันที่
๑ เมษายน ๒๕๕๙) จากการจัดอันดับโดยสหภาพรัฐสภา (Inter - Parliamentary Union: IPU) ๒๑๒
เมื่อพิจารณาจากข้อมูลสถิติสัดส่วนหรืออัตราส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติ (Percentage of seats held by women
๒๑๓
in national parliament) ของประเทศไทย ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๘ พบว่า ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ จนกระทั่งถึงปี ๒๕๕๖ ประเทศไทย
มีสัดส่วนหรืออัตราส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด โดยในปี ๒๕๔๙ มีสัดส่วนร้อยละ ๙ และในช่วงปี
๒๕๕๔ - ๒๕๕๖ มีสัดส่วนร้อยละ ๑๖ อย่างไรก็ตาม สัดส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติของประเทศไทย มีสัดส่วนลดลง
ตั้งแต่ ๒๕๕๗ จนกระทั่งถึงปี ๒๕๕๘ โดยมีสัดส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติ ร้อยละ ๖ รายละเอียดดังภาพ
สัดส่วนหรืออัตราส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติของประเทศไทย ตั้งเเต่ ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๘
๑๘
๑๖
๑๖ ๑๖ ๑๖
๑๔
๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๓ ๑๓
๑๐
๙
๘
๖ ๖
๖
๔
๒
๐
๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘
ที่มา : ธนาคารโลก (The World Bank). Proportion of seats held by women in national parliaments. ค้นเมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๙ จาก www.worldbank.org
๒๑๒ เป็นองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ. จาก www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=13753
๒๑๓ ธนาคารโลก (The World Bank) ได้จัดเก็บข้อมูลสถิติสัดส่วนหรืออัตราส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติ (Percentage of seats held by women in national parlia-
ment) รายปี ซึ่งจัดท�าโดยสหภาพรัฐสภา
137