Page 163 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 163

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



        ๔.๒ สถานการณ์เด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

        นอกจากผลกระทบของเหตุการณ์ความไม่สงบที่มีต่อเด็กในพื้นที่ ๒๐๔   มิติในเรื่องสุขภาพเด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังเป็นมิติ
        ที่มีความน่าห่วงกังวล ดังจะเห็นได้จากตัวเลขเชิงสถิติด้านสุขภาพพื้นฐานของเด็กในพื้นที่จังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลา ที่มีอัตรา
        เด็กแรกเกิดถึง ๑๒ ปีเต็ม ไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สูงเป็นสามอันดับแรกของประเทศไทย
        ประกอบกับมีรายงานจ�านวนเด็กที่เสียชีวิตจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ เฉลี่ย ๓-๔ รายต่อปี ๒๐๕  รัฐจึงควร
        หามาตรการ และ/หรือแนวทางในการสนับสนุน เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กในพื้นที่สามารถเข้าถึงสวัสดิการด้านสุขภาพได้อย่างเท่าเทียม

        ๔.๓ สถานการณ์เด็กข้ามชาติ

        จากจ�านวนเด็กข้ามชาติ  ๓๐๐,๐๐๐  -  ๔๐๐,๐๐๐  คนใน     เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  รวมถึงมาตรการในการก�าจัด
        ประเทศไทย และแนวโน้มที่อาจเพิ่มมากขึ้นตามสถานการณ์   ช่องโหว่ที่ท�าให้เด็กข้ามชาติอยู่ในประเทศไทยโดยปราศจาก
        ของแรงงานข้ามชาติ ๒๐๖  รัฐควรให้ความส�าคัญกับการมีฐาน  เอกสารยืนยันตัวตน เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
        ข้อมูลเชิงสถิติของเด็กข้ามชาติในประเทศไทย  ที่สามารถ   ต่อเด็ก อาทิ การตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ การถูกแสวง
        บ่งบอกถึงจ�านวนแท้จริงและครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศ   ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เป็นต้น และเป็นการช่วยให้รัฐมี
        เพื่อให้การแก้ไขปัญหาสามารถท�าได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน   ข้อมูลในระดับพื้นฐานที่จะสามารถน�าไปพัฒนาระบบการจัดเก็บ
        ครอบคลุมและเหมาะสม และรัฐจ�าเป็นต้องมีมาตรการที่ท�าให้   ฐานข้อมูลของเด็กข้ามชาติในภาพรวมต่อไป
        การด�าเนินงานด้านการออกเอกสารต่างๆ ให้กับเด็กข้ามชาติ



          ๕.๒.๒  กลุ่มผู้หญิงและความเสมอภาคทางเพศ


           ๑  หลักการด้านสิทธิมนุษยชน


        ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือก
        ปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) โดยการภาคยานุวัติ
        มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๘ โดยขณะเข้าเป็นภาคี
        ได้ตั้งข้อสงวนต่อข้อบทต่าง ๆ จ�านวน ๗ ข้อ ปัจจุบันคงเหลือ
        ข้อสงวน ๑ ข้อ คือ ข้อ ๒๙ การระงับการตีความการระงับข้อ
        พิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ โดยเนื้อหาของอนุสัญญามี ๒ ส่วน
        จ�านวน ๓๐ ข้อ ในส่วนแรก (ข้อ ๑-๑๖) เป็นสารบัญญัติว่าด้วย
        สิทธิต่าง ๆ ของสตรี การขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี รวมทั้ง
        การประกันว่าสตรีและบุรุษมีสิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติและดูแลจากรัฐ  การป้องกันความรุนแรงต่อสตรีในสถานที่ท�างาน ความเท่าเทียม
        อย่างเสมอภาคกัน โดยรัฐภาคีมีพันธกรณีส�าคัญที่จะต้องก�าหนด  กันในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ การประกันความเป็นอิสระด้าน
        มาตรการเพื่อสร้างความเท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและสตรี ปรับรูป  การเงินและความมั่นคง ด้านสังคม และการให้ความส�าคัญแก่สตรี
        แบบทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อให้เอื้อต่อการขจัดการเลือกปฏิบัติ  ในชนบท ความเท่าเทียมกันทางกฎหมาย โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย
        ต่อสตรี ปราบปรามการลักลอบค้าและแสวงหาประโยชน์ทางเพศ   แพ่งและกฎหมายครอบครัว ซึ่งเป็นการประกันความเท่าเทียมกัน
        จากสตรี ประกันความเท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและสตรีในด้าน  ในชีวิตส่วนบุคคล และส่วนที่ ๒ (ข้อ ๑๗-๓๐) เป็นเรื่องเกี่ยวกับ
        การเมือง เศรษฐกิจ และการด�ารงชีวิต ทั้งในระดับประเทศ   การจัดตั้งและการด�าเนินงานของคณะกรรมการ การเสนอรายงาน
        และระหว่างประเทศ เช่น สิทธิในการเลือกตั้ง การสนับสนุนให้ด�ารง  ผลกระทบของอนุสัญญา และการก�าหนดมาตรการที่จ�าเป็น
        ต�าแหน่งที่ส�าคัญ ความเท่าเทียมกันในกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ    การลงนามเข้าเป็นภาคี การมีผลบังคับใช้ การแก้ไข การตั้งข้อสงวน
        และการศึกษา การได้รับโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน    และการระงับข้อพิพาท


        ๒๐๔   อ้างอิงเนื้อหารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ๒๕๕๘ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ หน้าที่
        ๒๐๕   Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, “ความไม่สงบ และสถานการณ์สาธารณสุขที่ปัตตานี ปัญหาเรื้อรังที่ยังไร้ทางออก”,https://www.hfocus. org/content/2014/11/8682 (สืบค้นเมื่อ ๒๐
        ตุลาคม ๒๕๕๙)
        ๒๐๖  กระทรวงแรงงาน, “จ�านวนแรงงานข้ามชาติที่ได้รับอนุญาตท�างานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร”, http://wp.doe.go.th/ (สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)

         133
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168