Page 166 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 166
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๓ สถานการณ์ในปี ๒๕๕๘
โดยสรุปแล้ว สถานการณ์สิทธิสตรีรายประเด็น ในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย มีประเด็นในความห่วงใยที่ส�าคัญ ดังนี้
ประเด็นที่ ๑
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (Gender Equality)
จากรายงานการพัฒนามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ (Human Development Report 2015) ๒๐๙ ประเทศไทยมีค่าดัชนีการพัฒนามิติหญิง
๒๑๐
ชาย (Gender Development Index - GDI) เท่ากับ ๑.๐๐ โดยมีค่าของตัวชี้วัดย่อยใน ๓ ด้าน ดังนี้
ด้านที่ ประเด็น
๑ การมีชีวิตและสุขภาพที่ยืนยาว มีตัวชี้วัดย่อย คือ ความคาดหมายการคงชีพเมื่อแรกเกิด (ปี) (Life Expectancy at
Birth) โดย ชาย มีค่าเท่ากับ ๗๗.๑ หญิง มีค่าเท่ากับ ๗๗.๙ บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
๒ ด้านการศึกษา มีตัวชี้วัดย่อย ๒ ตัว คือ จ�านวนปีที่คาดว่าจะได้รับการศึกษา (ปี) (Expected Years of Schooling)
โดย ชาย มีค่าเท่ากับ ๑๓.๑ หญิง มีค่าเท่ากับ ๑๓.๙ และ จ�านวนปีเฉลี่ยที่ได้รับการศึกษา (ปี) (Mean Years of
Schooling) โดย ชาย มีค่าเท่ากับ ๗.๕ หญิง มีค่าเท่ากับ ๗.๑
๓ ด้านมาตรฐานการครองชีพ มีตัวชี้วัดย่อย คือ รายได้ประชาชาติมวลรวมต่อบุคคล (Estimated Gross National
Income per Capita) โดย ชาย มีค่าเท่ากับ ๑๔,๘๘๘ หญิง มีค่าเท่ากับ ๑๑,๘๒๐
โดยในส่วนค่าดัชนีความไม่เสมอภาคหญิงชาย (Gender Inequality
Index- GII) ๒๑๑ ของประเทศไทย มีค่าเท่ากับ ๐.๓๘๐ ถูกจัดอยู่ใน
ล�าดับที่ (Rank) ๗๖ จากทั้งหมด ๑๘๘ ประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ เมื่อ
พิจารณาความไม่เสมอภาคระหว่างหญิงชายใน ๓ ด้าน ได้แก่ ด้าน
อนามัยเจริญพันธุ์ (Reproductive health) การเสริมพลังอ�านาจ
(Empowerment) และตลาดแรงงาน (Labor Market) พบว่า
ตัวชี้วัดย่อยในแต่ละด้านมีค่า ดังนี้ อัตราส่วนการตายของมารดา
ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (Maternal Mortality Ratio) มีค่าเท่ากับ
๒๖ อัตราการคลอดในหญิงวัย ๑๕ – ๑๙ ปี (adolescent birth
ratio) มีค่าเท่ากับ ๔๑.๐ ส่วนแบ่งของที่นั่งในสภา (share of seats จ�าแนกเป็นชายมีค่าเท่ากับ ๔๐.๘ หญิงมีค่าเท่ากับ ๓๕.๗
in parliament) มีค่าเท่ากับ ๖.๑ ประชากรที่มีการศึกษาไม่ต�่ากว่า และอัตราการมีส่วนร่วมในก�าลังแรงงาน (labour force
ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละของประชากรวัย ๒๕ ปี หรือมากกว่า participation rate) จ�าแนกเป็นชายมีค่าเท่ากับ ๘๐.๗
(population with at least some secondary education) หญิงมีค่าเท่ากับ ๖๔.๓
๒๐๙ ดัชนีความไม่เสมอภาคหญิงชาย (Gender Inequality Index-GII) เป็นดัชนีประสม (Composite Index) ที่วัดความเท่าเทียมกันของหญิงกับชายใน ๓ ด้าน ได้แก่ การมีส่วนร่วมและ
การตัดสินใจทางการเมือง การตัดสินใจทางเศรษฐกิจ และอ�านาจในทรัพยากรเศรษฐกิจ โดยแต่ละด้านจะมีตัวบ่งชี้ย่อยประกอบ.(อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์).
๒๑๐ เป็นองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ. จาก www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=13753
๒๑๑ ธนาคารโลก (The World Bank) ได้จัดเก็บข้อมูลสถิติสัดส่วนหรืออัตราส่วนของผู้หญิงที่ด�ารงต�าแหน่งในรัฐสภาแห่งชาติ (Percentage of seats held by women in national
parliament) รายปี ซึ่งจัดท�าโดยสหภาพรัฐสภา ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://data.worldbank.org/indicator/SG.GEN.PARL.ZS/countries/1W?display=default
136