Page 164 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 164

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ทั้งนี้ นอกจากสนธิสัญญาหลักแล้ว ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน  พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ  ประเด็น
              พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อ  การส่งเสริมและคุ้มครองกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม (ข้อ ๑๕)
              สตรีในทุกรูปแบบ (OP-CEDAW) เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๓ ซึ่ง  การรับรองและด�าเนินการมาตรการพิเศษชั่วคราวเพื่อเร่งบรรลุ
              มีสาระส�าคัญเกี่ยวกับการยอมรับอ�านาจของคณะกรรมการประจ�า  ความเสมอภาคในทางปฏิบัติระหว่างสตรีกับบุรุษในทุก ๆ ด้าน
              อนุสัญญาฯ ในการรับและพิจารณาข้อร้องเรียนในกรณีที่มีการที่  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การมีส่วนร่วมของสตรีในการตัดสินใจ
              ละเมิดพันธกรณีภายใต้อนุสัญญา CEDAW นอกจากนี้ ประเทศไทย  และการเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจ (ข้อ ๕๗) การด�าเนิน
              ยังมีข้อเสนอแนะจากการเสนอรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน  มาตรการเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของสังคม วัฒนธรรม และ
              ในประเทศไทยภายใต้กระบวนการ Universal Periodic Review   ประเพณีดั้งเดิมที่เปิดโอกาสต่อการใช้ความรุนแรงต่อสตรี
              (UPR) รอบ ๑ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔  ซึ่งต้องรับมาปฏิบัติในเรื่องของ   (ข้อ ๖๐) การเพิ่มความพยายามอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกัน
              สตรีหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปรับปรุงกฎหมาย   ลงโทษ  และขจัดการใช้ความรุนแรงต่อสตรีทุกรูปแบบ
              สิทธิมนุษยชนภายในประเทศ ได้แก่ การทบทวน “พระราช    (ข้อ ๖๒) การด�าเนินมาตรการเพื่อคุ้มครองสตรีและแก้ไข
              บัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ” และยกเลิกข้อยกเว้นต่าง ๆ    ปัญหาการใช้ความรุนแรงต่อสตรี (ข้อ ๖๓) และการด�าเนินงาน
              ในกฎหมายดังกล่าวซึ่งอนุญาตให้มีการเลือกปฏิบัติต่อสตรี   ความพยายามเพื่อประกันความเท่าเทียมทางเพศและ
              เพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติ   ขจัดปัญหาความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก (ข้อ ๖๔) เป็นต้น
              ต่อสตรีในทุกรูปแบบ (ข้อ ๑๔) การเร่งรัดการยกร่างและรับรอง


                ๒  สถานการณ์ทั่วไป                                                                                   บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง


              ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
              เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘ ซึ่งนอกจากพระราชบัญญัติดังกล่าวแล้ว ยังมีการจัดท�า
              แผนงานที่เกี่ยวกับการพัฒนามิติหญิงชายที่ส�าคัญ อาทิ แผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
              ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) แผนพัฒนาสถิติหญิงและชาย ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗–๒๕๕๘)

              ทั้งนี้ ประเทศไทยได้จัดท�ารายงานสถานการณ์สตรี ปี ๒๕๕๘ จ�าแนกตามสถานการณ์ของสตรี ๑๒ ประเด็น ที่เป็นอุปสรรคต่อ
              ความก้าวหน้าของสตรี ตามประเด็นที่น่าห่วงใยเป็นพิเศษอันเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อความเสมอภาคระหว่างหญิงชายและการเสริมพลัง
              ให้สตรี ซึ่งก�าหนดไว้ในปฏิญญาและแผนปฏิบัติการปักกิ่งเพื่อความก้าวหน้าของสตรี (Beijing Declaration and Platform for Action:
              BPFA) ๒๐๗   แสดงเป็นผังภูมิรูปภาพได้ ดังนี้

























              ๒๐๗    การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยเรื่องสตรี ครั้งที่ ๔ เมื่อเดือนกันยายน ปี ๒๕๓๘ ผู้แทนจาก ๑๘๙ ประเทศ (รวมประเทศไทย) ได้ยอมรับปฏิญญาและแผนปฏิบัติการปักกิ่งเพื่อความ
              ก้าวหน้าของสตรี (Beijing Declaration and Platform for Action: BPFA) โดยมีเป้าหมาย คือ ความเสมอภาค การพัฒนา และสันติภาพ ส�าหรับสตรีทุกคน ทุกหนแห่ง ซึ่งมีประเด็น
              ที่น่าห่วงใยเป็นพิเศษอันเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อความเสมอภาคระหว่างหญิงชายและการเสริมพลังให้สตรี ทั้งสิ้น ๑๒ ข้อ ได้แก่ สตรีกับความยากจน (Women and poverty) การศึกษา
              และการฝึกอบรมของสตรี (Education and training of women) สตรีกับสุขภาพอนามัย (Women and Health) ความรุนแรงต่อสตรี (Violence against women) สตรีกับความขัดแย้ง
              ที่มีการใช้อาวุธ (Women and armed conflict) สตรีกับเศรษฐกิจ (Women and the economy) สตรีกับอ�านาจการตัดสินใจ (Women in power and decision-making) กลไกเชิง
              สถาบันเพื่อความก้าวหน้าของสตรี (Institutional mechanisms) สิทธิมนุษยชนของสตรี (Human rights of women) สตรีกับสื่อมวลชน (Women and the media) สตรีกับสิ่งแวดล้อม
              (Women and the environment) และเด็กผู้หญิง (The girl child)
                                                                                                          134
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169