Page 159 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 159

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



          ๒  สถานการณ์ทั่วไป



        ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรเด็ก (อายุ ๐-๑๗ ปี) จ�านวน ๑๔,๑๒๘,๒๒๘ คน ๑๘๖  คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๑๑ ของประชากรทั้งหมดในประเทศ
        โดยจ�านวนนี้ยังไม่รวมเด็กที่ไร้สัญชาติที่กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ และเด็กข้ามชาติที่เข้ามาในประเทศไทยผ่านช่องทางต่าง ๆ
        ซึ่งยังไม่มีการระบุตัวเลขที่เป็นทางการ แต่งานวิจัยเรื่อง “วิกฤตการณ์ด้านการศึกษาของเด็กข้ามชาติในประเทศไทยจ�าเป็นต้อง
        ได้รับการแก้ไขด่วน” ขององค์กร พัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ ได้ประมาณการว่ามีเด็กข้ามชาติในประเทศไทยจ�านวน ๓๐๐,๐๐๐ – ๔๐๐,๐๐๐ คน ๑๘๗


        ด้านการศึกษา เด็กไทยร้อยละ ๙๕.๖ สามารถเข้าถึงการศึกษา   ด้านสุขภาพ มีจ�านวนเด็กแรกเกิดที่มีน�้าหนักไม่ต�่ากว่า ๒,๕๐๐
        ขั้นพื้นฐาน ๑๘๘    เด็กอายุ ๓-๕ ปี ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อม   กรัม ร้อยละ ๙๙.๕๒ เด็กแรกเกิดได้ทานนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย
        ก่อนวัยเรียนร้อยละ ๙๙.๗๗ เด็กอายุ ๖-๑๔ ปี ได้รับการศึกษา   ๖ เดือนติดต่อกัน ร้อยละ ๙๐.๔๖ มีอัตราการได้รับการฉีดวัคซีน
        ภาคบังคับ ๙ ปี ร้อยละ ๙๙.๙๐ เด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปี  ป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กแรกเกิด
        ที่ ๓ ได้เรียนต่อ ร้อยละ ๙๘.๔๔ เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ   ถึง ๑๒ ปี ร้อยละ ๙๙.๘๘ โดยพื้นที่ที่พบว่าเด็กไม่ได้รับวัคซีน
        ๙ ปี แต่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานท�า และไม่ได้รับการฝึก  ป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมากที่สุด คือ
        อบรมด้านอาชีพ ร้อยละ ๒๑.๖๗ โดยภาคเหนือและภาคใต้      ภาคใต้ จังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลา ๑๙๑
        เป็นภาคที่มีจ�านวนเด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี แต่ไม่ได้เรียนต่อ   ประเด็นสถานการณ์เด็กที่น่าห่วงกังวลในประเทศไทย พบว่า
        และยังไม่มีงานท�า รวมถึงไม่ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพมาก  ในระยะเวลา ๕ ปีที่ผ่านมามีสถิติเด็กที่ได้รับการกระท�าความรุนแรง
        ที่สุด คือ ร้อยละ ๓๕.๔๑ และ ๓๒.๐๓ ตามล�าดับ   อัตราการ  จ�านวน ๕๗,๕๖๘ คน เป็นการกระท�าความรุนแรงทางเพศมากที่สุด ๑๙๒
                                            ๑๘๙
        ออกกลางคันของเด็กไทยอยู่ที่ ร้อยละ ๐.๑๔ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ  และมีแนวโน้มของพัฒนาการความซับซ้อนในการละเมิดทางเพศ
        มัธยมศึกษาตอนต้น มีสาเหตุหลักมาจากการอพยพตามผู้ปกครอง   ต่อเด็ก รวมถึงการน�าเด็กเข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องทางเพศ สื่อลามก
        ปัญหาในการปรับตัว และปัญหาครอบครัว ๑๙๐               และอนาจารเพิ่มมากขึ้น


          สถิติจ�านวนเด็กถูกกระท�ารุนเเรง ปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘



                   ล้านคน
               ๒๐๐๐๐                                    ๑๙,๒๒๙
               ๑๘๐๐๐
               ๑๖๐๐๐
             จ�านวนเด็กที่ถูกกระท�ารุนเเรง  ๑๒๐๐๐  ๑๑,๔๙๑  ๙,๘๐๓       ๖,๓๓๓         ๑๐,๗๑๒
               ๑๔๐๐๐

               ๑๐๐๐๐
                ๘๐๐๐
                ๖๐๐๐
                ๔๐๐๐
                ๒๐๐๐
                  ๐                                                                             ปี พ.ศ.
                           ๒๕๕๔           ๒๕๕๕           ๒๕๕๖           ๒๕๕๗           ๒๕๕๘






        ๑๘๖   กรมการปกครอง, “สถิติประชากรและบ้าน–จ�านวนประชากรแยกรายอายุ”, http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php (สืบค้นเมื่อ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๙)
        ๑๘๗   องค์การช่วยเหลือเด็ก (save the children), “องค์กรพัฒนาเอกชนชี้: วิกฤตการณ์ด้านการศึกษาของเด็กข้ามชาติในประเทศไทยจ�าเป็นต้องได้รับการแก้ไขด่วน”, https://thailand.
        savethechildren.net (สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
        ๑๘๘   Global Competitiveness Report 2014-2015 : World Economic Forum
        ๑๘๙   คณะกรรมการอ�านวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน, “รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย”,หน้า ๖๔-๗๒
        ๑๙๐   ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, “จ�านวนและอัตราการออกกลางคันนักเรียนสังกัดส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ๒๕๔๕-
        ๒๕๕๗”, http://social.nesdb.go.th (สืบค้นเมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
        ๑๙๑   คณะกรรมการอ�านวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน, “เรื่องเดิม”,หน้า ๒๙-๓๖
        ๑๙๒   กระทรวงการพัฒนาสังคมเเละความมั่นคงของมนุษย์, “หนังสือที่ พม ๐๒๑๐/๕๑๑๘ เรื่อง ขอส่งข้อมูลประกอบการจัดท�ารายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจ�า
        ปี ๒๕๕๘”
         129
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164