Page 158 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 158
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
มีชีวิต การอยู่รอด และการพัฒนาทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และ (๔) สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเด็ก และการให้ความส�าคัญ
กับความคิด ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กโดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๕ และมีผลใช้บังคับ
กับประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕ โดยได้ตั้งข้อสงวนเมื่อเข้าเป็นภาคีไว้จ�านวน ๓ ข้อ ได้แก่ ข้อ ๗ เรื่องสถานะบุคคล ข้อ ๒๒ เรื่องสถานะ
ผู้ลี้ภัย และ ข้อ ๒๙ การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ โดยต่อมา ประเทศไทยได้ถอนข้อสงวนของอนุสัญญา ๒ ข้อ
คือ ข้อสงวนข้อ ๒๙ เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๐ และข้อสงวนข้อ ๗ เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๓ รวมถึงอยู่ระหว่างการศึกษา
ความเป็นไปได้ในการถอนข้อสงวนข้อ ๒๒ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับว่าด้วยสิทธิเด็กจ�านวน ๓ ฉบับ
คือ พิธีสารเลือกรับฯ เรื่อง การขายเด็ก การค้าประเวณี และสื่อลามกเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมุ่งประสงค์ในการขยายมาตรการที่รัฐภาคีควร
ด�าเนินการเพื่อที่จะประกันการคุ้มครองเด็กจากการค้าเด็ก การค้าประเวณีเด็ก และสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก พิธีสารเลือกรับฯ เรื่อง
ความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ โดยที่จะต้องมีมาตรการ ป้องกัน ติดตาม คุ้มครองไม่ให้เด็กเข้าไปอยู่ในสถานการณ์
ความขัดแย้ง หรือสถานการณ์การสู้รบ และพิธีสารเลือกรับฯ เรื่องกระบวนการติดต่อร้องเรียน ซึ่งเป็นฉบับล่าสุดที่ประเทศไทย
ได้ลงนามและให้สัตยาบันเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕ โดยพิธีสารฯ ดังกล่าวอนุญาตให้เด็ก กลุ่มเด็ก หรือตัวแทนของเด็กสามารถส่ง
เรื่องร้องเรียนไปยังคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้โดยตรงในกรณีที่ถูกละเมิดสิทธิ
และไม่สามารถใช้กระบวนการที่มีอยู่ในประเทศในการได้รับความยุติธรรม
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นกฎหมายที่ตราขึ้น บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
ต่อรายงานผลการด�าเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก เพื่อให้ประเทศไทยมีการด�าเนินการด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฉบับที่ ๓ – ๔ คณะกรรมการฯ แสดงความเป็นห่วงกังวล กับสิทธิเด็ก สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และขอให้ประเทศไทยด�าเนินการอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก โดยมีสาระส�าคัญ ได้แก่
เช่น (๑) ด้านการศึกษา ได้แก่ การเข้าเรียนในระบบการศึกษา การก�าหนดขั้นตอนและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติต่อเด็กให้
การลดการออกจากโรงเรียนกลางคัน (๒) ด้านสุขภาพ ได้แก่ เหมาะสม เพื่อให้เด็กได้รับการอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน
การให้การดูแลมารดาที่ตั้งครรภ์การขาดสารอาหารการเพิ่มอัตรา และมีพัฒนาการที่เหมาะสมอันเป็นการส่งเสริมความมั่นคง
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว (๓) การคุ้มครองเด็กจากความ ของสถาบันครอบครัว รวมทั้งป้องกันมิให้เด็กถูกทารุณกรรม
รุนแรงทุกรูปแบบ (๔) การปกป้องคุ้มครองเด็กจากการแสวงหา ตกเป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ หรือ
ประโยชน์ทางเพศ (๕) การศึกษาและแสดงข้อมูลแรงงานเด็ก ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม และการปรับปรุงวิธีการส่ง
(๖) การตรวจแรงงานเพื่อติดตามและตรวจสอบเด็กที่ท�างาน เสริมความร่วมมือในการคุ้มครองเด็กระหว่างหน่วยงานของรัฐ
(๗) การจดทะเบียนเกิดของเด็กที่อยู่ในประเทศไทย (๘) การพัฒนา และเอกชนให้เหมาะสม
ระบบการเก็บข้อมูลที่ครอบคลุม และสามารถใช้ในการวิเคราะห์
ประเมินความก้าวหน้าด้านสิทธิเด็ก และ (๙) การดูแลเด็กในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้ให้ความคุ้มครองศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ได้บัญญัติหลักการส�าคัญ ๆ หลายประการ ที่เป็นไปตามอนุสัญญา
ว่าด้วยสิทธิเด็กไว้ในรัฐธรรมนูญ อาทิ การประกันสิทธิเด็ก
ในด้านการศึกษา การอยู่รอดและได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย
จิตใจ และสติปัญญา การคุ้มครองเด็กจากการใช้ความรุนแรงและ
การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม การคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน
เป็นต้น
128