Page 157 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 157
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
(ข้อ ๑๓) สิทธิที่จะได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง (ข้อ ๑๔) สิทธิในการมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม (ข้อ ๑๕) สิทธิทางการ
ศึกษา (ข้อ ๑๖) สิทธิที่จะได้รับการดูแลสุขภาพตามมาตรฐานสูงสุด (ข้อ ๑๗) การป้องกันจากการทารุณทางแพทย์ (ข้อ ๑๘)
สิทธิในเสรีภาพแห่งความเห็นและการแสดงออก (ข้อ ๑๙) สิทธิในการชุมชนหรือสมาคมโดยสงบ (ข้อ ๒๐) สิทธิในเสรีภาพ
แห่งความคิด มโนธรรมและศาสนา (ข้อ ๒๑) สิทธิในเสรีภาพแห่งการเคลื่อนย้าย (ข้อ ๒๒) สิทธิที่จะขอลี้ภัย (ข้อ ๒๓) สิทธิที่
จะสร้างครอบครัว (ข้อ ๒๔) สิทธิที่จะเข้าร่วมกิจการสาธารณะ (ข้อ ๒๕) สิทธิในการร่วมใช้ชีวิตทางด้านวัฒนธรรม (ข้อ ๒๖)
สิทธิที่จะสนับสนุนสิทธิมนุษยชน (ข้อ ๒๗) สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาและชดใช้ค่าเสียหายอย่างเต็มที่ (ข้อ ๒๘) และรัฐต้อง
สามารถตรวจสอบการกระท�าอันละเมิดสิทธิดังกล่าวข้างต้นได้ (ข้อ ๒๙)
๕.๒ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง รายประเด็น
ในมิติของการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล ดังนั้น ในการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
๖ กลุ่ม ได้แก่ เด็ก ผู้หญิงและความเสมอภาคทางเพศ คนพิการ ทั้ง ๖ กลุ่ม ในหลายกรณี กสม. พบว่า มีการกระท�าในลักษณะของ
ผู้สูงอายุ แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม ตลอดจนกลุ่มชาติพันธุ์ “การละเมิดหรือการเลือกปฏิบัติที่ซ�้าซ้อน” ทั้งการละเมิดสิทธิ
กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ จะเกี่ยวข้องกับตราสารสิทธิมนุษยชน มนุษยชนโดยตรง และ/หรือการละเมิดสิทธิมนุษยชนแฝงหรือ
ระหว่างประเทศ รวมถึงกรอบข้อตกลงต่าง ๆ หลายฉบับ ทางอ้อมที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนของกรอบข้อตกลงอื่น ๆ อาทิ
ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับ (๑) มิติของสภาวะสิทธิโดยทั่วไป ได้แก่ ปฏิญญารัฐมนตรีว่าด้วยทศวรรษคนพิการแห่งเอเชีย และแปซิฟิก
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ และยุทธศาสตร์อินชอน (Incheon Strategy)
และวัฒนธรรม (๒) มิติของสภาวะสิทธิในสถานการณ์จ�าเพาะ หลักการองค์การสหประชาชาติ ๑๘ ประการส�าหรับผู้สูงอายุ
ได้แก่ การไม่ถูกกระท�าทรมาน และการประติบัติ หรือการลงโทษ ตลอดจนแผนปฏิบัติการมาเก๊าว่าด้วยการด�าเนินงานด้านผู้สูงอายุ
ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี การหายสาบสูญโดย ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี ๒๕๔๒ แผนปฏิบัติการระหว่างประเทศ
ถูกบังคับ และการบังคับค้ามนุษย์ และ (๓) มิติของสภาวะสิทธิ เกี่ยวกับผู้สูงอายุมาดริด ระยะที่ ๑ (ปี ๒๕๔๕) และระยะที่ ๒
ในกลุ่มจ�าเพาะ ได้แก่ เด็ก ผู้หญิง บุคคลที่มีความหลากหลายทาง (ปี ๒๕๕๓) และหลักการยอกยาการ์ตา (Yogyakarta Principles)
เพศ คนพิการ ผู้สูงอายุ แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม ตลอดจน ว่าด้วยการประยุกต์ใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ ซึ่งทั้ง ๓ มิติ ในประเด็นวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศ มาประกอบการประเมิน
มี “ความเชื่อมโยงและทับซ้อน (Intersectionality)” สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
๕.๒.๑ กลุ่มเด็ก
๑ หลักการด้านสิทธิมนุษยชน
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้ประกันสิทธิของเด็กโดยเน้นหลักพื้นฐาน ๔ ประการ ได้แก่ (๑) การห้ามเลือกปฏิบัติต่อเด็ก และการให้ความ
ส�าคัญแก่เด็กทุกคนอย่างเท่าเทียม โดยไม่ค�านึงถึงความแตกต่างของเด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทาง
การเมือง ชาติพันธุ์ หรือสังคม ทรัพย์สินความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่น ๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา หรือผู้ปกครองทางกฎหมาย
ทั้งนี้ เพื่อให้เด็กมีโอกาสที่เท่าเทียมกัน (๒) การกระท�าหรือการด�าเนินการทั้งหลายต้องค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นอันดับแรก (๓) สิทธิในการ
127