Page 137 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 137

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘



        ๔.๒.๕  การค้ามนุษย์



          ๑  หลักการด้านสิทธิมนุษยชน


        กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International   เสริมอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการต่อต้าน
        Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ให้การรับรอง  อาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร
        สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อาทิ สิทธิในการมีชีวิตอยู่ การห้ามบุคคล   (Protocol to Prevent, Suppress and Punish
        มิให้ถูกกระท�าทรมาน การห้ามบุคคลมิให้ตกอยู่ในภาวะเยี่ยงทาส การห้ามบุคคล  Trafficking in Persons, Especially Women
        มิให้ถูกจับกุมตามอ�าเภอใจ การห้ามบุคคลมิให้ถูกเกณฑ์แรงงานหรือบังคับใช้  and Children, supplementing the United
        แรงงาน การปฏิบัติต่อผู้ถูกลิดรอนเสรีภาพอย่างมีมนุษยธรรม เป็นต้น ประเทศไทย   Nations Convention against Transnational
        ได้เข้าเป็นภาคีกติกา ICCPR โดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๙   Organization Crime) เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม
        และมีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๓๐  มกราคม ๒๕๔๐ โดยไม่มีการตั้ง  ๒๕๔๔ และได้ยื่นสัตยาบันสารพร้อมกันทั้ง ๒ ฉบับ
        ข้อสงวน แต่ได้ท�าค�าแถลงตีความไว้ ๔ ประเด็น ได้แก่ (๑) ข้อบทที่ ๑ วรรค ๑   เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ส่งผลให้อนุสัญญาฯ
        เรื่องการใช้สิทธิในการก�าหนดเจตจ�านงของตนเอง การก�าหนดสถานะทางการเมือง   และพิธีสารฯ เรื่องการค้ามนุษย์ เริ่มมีผลใช้บังคับ
        การด�าเนินการทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมอย่างเสรี (๒) ข้อบทที่ ๖ วรรค ๕   กับประเทศไทย ในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
        การพิพากษาประหารชีวิตบุคคลอายุต�่ากว่า ๑๘ ปี (๓) ข้อบทที่ ๙ วรรค ๓ ระยะเวลา  เป็นต้นมา โดยที่ประเทศไทยได้มีพระราชบัญญัติ
        ในการน�าผู้ถูกจับกุมไปศาล และ (๔) ข้อบทที่ ๒๐ วรรค ๑ การห้ามโฆษณาชวนเชื่อ  ป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กร
        เพื่อสงคราม ซึ่งต่อมาประเทศไทยได้ถอนค�าแถลงตีความข้อบทที่ ๖ วรรค ๕ และ  อาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ และพระราชบัญญัติ
        ข้อบทที่ ๙ วรรค ๓ มีผลตั้งแต่วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕            ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

        อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) อนุสัญญา  เป็นกฎหมายอนุวัติการส�าหรับอนุสัญญาฯ
        ว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ตลอดจนพิธีสารของอนุสัญญาฯ ว่าด้วยการค้าเด็ก การ  และพิธีสารฯ ดังกล่าว  ๑๖๙
        ค้าประเวณีเด็กและสื่อลากมกเกี่ยวกับเด็ก ได้ให้การคุ้มครองบุคคลจากการถูก  อนุสัญญาอาเซียนต่อต้านการค้ามนุษย์โดยเฉพาะ
        แสวงหาประโยชน์ทางเศรษฐกิจและทางเพศ                            สตรีและเด็ก  (ASEAN  Convention  against

        อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะ  Trafficking, Especially Women and Children)
        องค์กร (United Nations Convention against Transnational Organized   ซึ่งประเทศไทยลงนามเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน
        Crime: UNTOC) ซึ่งประเทศไทยได้ลงนามเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ และพิธีสาร   ๒๕๕๘ ๑๗๐   มีวัตถุประสงค์ส�าคัญ เพื่อส่งเสริมความ
        เพื่อป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์โดยเฉพาะสตรีและเด็ก   ร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ในการป้องกัน
                                                                      และต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเน้นการแก้ไขปัญหา
                                                                      การค้ามนุษย์ที่ต้นเหตุ เช่น การขจัดความยากจน
                                                                      การลดปัจจัยเกื้อหนุนและป้องกันการตกเป็นเหยื่อซ�้า
                                                                      และการส่งเสริมความร่วมมือข้ามแดน โดยเฉพาะ
                                                                      การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารคนเข้าเมือง
                                                                      การคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และ
                                                                      การส่งกลับ การบังคับใช้กฎหมาย อาทิ การยึดทรัพย์
                                                                      การให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญา
                                                                      การส่งผู้ร้ายข้ามแดน และความร่วมมือระหว่าง
                                                                      ประเทศอื่น ๆ






        ๑๖๙   กระทรวงการต่างประเทศ, “การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร และพิธีสารเพื่อป้องกัน ปราบปรามและลงโทษ การค้ามนุษย์
        โดยเฉพาะสตรีและเด็กเสริมอนุสัญญาฯ”, http://www.mfa.go.th (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
        ๑๗๐  ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก เมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙  ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ
        อาเซียน ครั้งที่ ๔๙ ณ เวียงจันทน์

         107
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142