Page 133 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 133

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘




        ๓.๒  ข้อเรียกร้องด้านแรงงาน
        ในวันแรงงานแห่งชาติ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สภาองค์การลูกจ้าง รัฐวิสาหกิจ และเครือข่ายแรงงานนอกระบบ ได้ยื่นข้อเรียกร้อง
        ต่อรัฐบาลขอให้เร่งด�าเนินการในหลายประเด็น อาทิ ขอให้รัฐบาลปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต�่าในอัตราที่สอดคล้องกับค่าครองชีพและสภาพเศรษฐกิจ
        ควบคุมราคาสินค้าอุปโภคและบริโภค รวมทั้งขอให้แก้ไขกฎกระทรวงให้บัตรรับรองสิทธิประกันสังคมสามารถใช้สิทธิรักษาพยาบาล
        ได้ทุกโรงพยาบาล และขอให้รัฐบาลไทยให้การรับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘



























        ปัญหาเรื่องสภาพการท�างานกลุ่มลูกจ้างท�างานบ้านและค่าจ้างขั้นต�่า   แรงงานที่มีอยู่ยังไม่ครอบคลุมการคุ้มครองสิทธิในการท�างาน
        พบว่า กลุ่มลูกจ้างท�างานบ้านซึ่งข้อมูลจากส�านักงานสถิติแห่งชาติ    ของคนกลุ่มนี้ อาทิ กฎกระทรวงแรงงานฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕)
        เมื่อปี ๒๕๕๕ ระบุว่า มีลูกจ้างท�างานบ้านทั่วประเทศกว่า ๒๓๐,๐๐๐ คน   ยังไม่ครอบคลุมถึงสิทธิบางประการที่ลูกจ้างได้รับการคุ้มครอง
        เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานในการท�างาน เช่น   ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ การคุ้มครอง
        มีชั่วโมงการท�างานที่ยาวนานไม่แน่นอน ไม่ได้รับสวัสดิการขั้น   เรื่องค่าแรงขั้นต�่า การคุ้มครองชั่วโมงการท�างานมิให้เกิน ๘ ชั่วโมง
        พื้นฐาน การล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งกฎหมายคุ้มครอง  ต่อวัน สิทธิในการลากิจ ลาคลอด เป็นต้น




        นอกจากปัญหาแรงงานไทยในประเทศแล้ว ยังพบปัญหากรณีสภาพการท�างานของแรงงานไทยในต่างประเทศที่ยังไม่ได้รับการคุ้มครอง
        จากรัฐเช่นเดียวกัน เช่น กรณีกลุ่มแรงงานไทยภาคเกษตรกรรมในประเทศอิสราเอลซึ่งประสบปัญหาเรื่องสภาพการท�างานที่เลวร้าย ๑๖๑
        ให้ท�างานเกินก�าหนดเวลา ได้ค่าจ้างต�่ากว่าที่กฎหมายก�าหนด การไม่สามารถเปลี่ยนนายจ้างได้แม้กฎหมายอนุญาต การอยู่ในสภาพแวดล้อม
        การท�างานที่ไม่ปลอดภัย อาทิ พ่นยาฆ่าแมลงโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน นายจ้างไม่เอาใจใส่เรื่องการรักษาพยาบาลกรณีเจ็บป่วย เป็นต้น
        ซึ่งส่งผลให้แรงงานไทยเสียชีวิตหลายราย นอกจากนี้ รายงานการส�ารวจ 2015 ITUC Global Rights Index ของสมาพันธ์สหภาพแรงงาน
        สากล ยังระบุว่าประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่มีการละเมิดสิทธิแรงงานอย่างเป็นระบบ โดยมีระดับความรุนแรงที่ ๔ จากความรุนแรงมากที่สุด
        คือ ระดับ ๕ ซึ่งจัดอยู่ในระดับเดียวกับประเทศสหรัฐอเมริกา พม่า และอินโดนีเซีย










        ๑๖๑   อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รายงาน “สัญญาจ้างอยุติธรรม: การเอารัดเอาเปรียบแรงงานไทยในภาคเกษตรกรรมของอิสราเอล” (A Raw Deal: Abuses of Thai Workers in Israel’s
        Agricultural Sector), กลุ่มเฝ้าระวังสิทธิมนุษยชน (Human Rights Watch) ในนครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา







         103
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138