Page 135 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 135
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
๔.๑ สภาพการท�างานและระบบประกันสังคม
รัฐมีมาตรการการด�าเนินการที่จะท�าให้แรงงานนอกระบบเข้ามาอยู่
ในระบบ โดยมีความก้าวหน้าอย่างมากในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา ท�าให้
แรงงานได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและมีหลักประกันทางสังคม
มากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ยังพบว่า มีแรงงานบางกลุ่มยังไม่ได้รับ
ความคุ้มครองอย่างทั่วถึง ได้แก่ กลุ่มลูกจ้างท�างานบ้าน ลูกจ้าง
ที่ไปท�างานในต่างประเทศที่มักถูกละเมิดสิทธิจากนายจ้าง
การไม่ได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรม การมีชั่วโมงการท�างานที่ยาวนานเกินไป
เเละการที่กฎหมายประกันสังคมยังให้การคุ้มครองไม่ครอบคลุม
แรงงานทั้งหมด เป็นต้น รัฐจึงจ�าเป็นต้องมีมาตรการที่ชัดเจนและ
เร่งด่วนในการให้ความช่วยเหลือแรงงานที่ถูกละเมิดสิทธิ รวมทั้ง
ควรบูรณาการการท�างานจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อให้กลไกรัฐที่มี ที่ลูกจ้างท�านั้นมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย ให้เป็นลูกจ้าง
ไม่ว่าจะเป็นมาตรการ แนวทาง รวมถึงกฎหมาย สามารถให้การ ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ ของ
คุ้มครองแรงงานกลุ่มนี้ได้อย่างเต็มที่ โดยรัฐควรทบทวนให้มีการ พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มีผลท�าให้ลูกจ้าง
ปรับปรุงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ท�างานบ้านของนายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดาที่มิได้มีการประกอบ
ซึ่งส�านักงานประกันสังคมได้แก้ไขกฎหมายและประกาศใช้ ธุรกิจรวมอยู่ด้วยไม่สามารถใช้สิทธิประกันตนตามมาตรา ๓๓
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยก�าหนด ได้ ซึ่งหากลูกจ้างกลุ่มนี้ประสงค์จะใช้สิทธิในระบบประกันสังคม
นิยามค�าว่า “ลูกจ้าง” ให้หมายถึง ผู้ซึ่งท�างานให้นายจ้างโดยรับ ก็จะต้องสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ เท่านั้น ซึ่งจะ
ค่าจ้าง ซึ่งท�าให้ครอบคลุมกลุ่มของลูกจ้างเพิ่มมากขึ้น แต่การ ได้รับความคุ้มครองน้อยกว่าผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ ดังนั้น
แก้ไขนิยามดังกล่าวไม่มีผลถึงลูกจ้างท�างานบ้านด้วย เนื่องจาก หากรัฐประสงค์ให้ผู้ที่ท�างานกับนายจ้างโดยได้รับค่าจ้างได้รับความ
ยังไม่มีการแก้ไขพระราชกฤษฎีกาก�าหนดลูกจ้างตามมาตรา ๔ คุ้มครองตามระบบประกันสังคม จึงต้องแก้ไขพระราชกฤษฎีกาฯ
(๖) แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ในมาตรา ๔ ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติดังกล่าว
(๗) ซึ่งบัญญัติให้ลูกจ้างของนายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงาน
นอกจากนี้ เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของห่วงโซ่
อุปทานระดับโลกของบรรษัทข้ามชาติจ�านวนมาก รัฐจึงจ�าเป็นต้อง
มีมาตรการในการให้ความคุ้มครองแรงงานมิให้ถูกละเมิดสิทธิ และต้อง
มีมาตรการที่ชัดเจนในการก�ากับดูแลผู้ประกอบการที่เป็นสายการผลิต
ของบรรษัทข้ามชาติ ตลอดจนแนวทางในการด�าเนินการหากพบว่า
มีแรงงานในประเทศไทยถูกละเมิดสิทธิจากบรรษัทข้ามชาติเหล่านี้
รวมถึงควรสร้างมาตรการจูงใจให้ผู้ประกอบการทุกประเภทกิจการ
ให้การคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างมากยิ่งขึ้นเพื่อประโยชน์ในระยะยาว
ของผู้ประกอบการเอง
105