Page 140 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 140
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
นอกจากนี้ กลุ่มสหภาพยุโรป (European Union - EU)
ยังได้พิจารณาให้ใบเหลืองประเทศไทยจากปัญหาการท�าประมง
ผิดกฎหมาย ไร้รายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) โดยให้
เหตุผลว่าประเทศไทยยังไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมใน
เรื่องการท�าประมงผิดกฎหมายที่สอดคล้องกับหลักกฎหมายสากล
โดยมีประเด็นส�าคัญคือ การท�าประมงโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือ
ใช้เครื่องมือจับปลาที่ผิดกฎหมาย และปัญหาการใช้แรงงานทาส
ทั้งนี้ กฎระเบียบ IUU ของ EU ถูกร่างขึ้นเพื่อช่วยขจัดปัญหา
การท�าประมงผิดกฎหมายโดยเฉพาะ โดยเพิ่มมาตรการคว�่าบาตร
การน�าเข้าอาหารทะเลจากประเทศที่เพิกเฉยต่อการแก้ไขปัญหา IUU fishing ซึ่ง EU พิจารณาว่าประเทศไทยไม่ได้แสดงถึง
ความพยายามอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรมต่อการขจัดปัญหาดังกล่าว จึงให้ใบเหลืองแก่ไทยเพื่อเป็นการตักเตือนอย่างเป็นทางการ
เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา โดยผลที่ตามมา คือ ประเทศไทยมีเวลา ๖ เดือนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อหลีกเลี่ยงการถูก
คว�่าบาตรการน�าเข้าอาหารทะเลจาก EU โดยจะมีการตรวจสอบและประเมินความคืบหน้าของปัญหาดังกล่าวนี้อีกครั้งในเดือนตุลาคม
๒๕๕๘ ๑๗๖
ส�าหรับความก้าวหน้าในการแก้ไขปัญหาประมงผิดกฎหมาย ประเทศที่มีอุตสาหกรรมประมงเป็นหลัก เช่น อินโดนีเซีย บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ในปี ๒๕๕๘ รัฐบาลได้ด�าเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ดังนี้ ฟิลิปปินส์ เป็นต้น เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ
(๑) การเสนอร่างกฎหมายและการประกาศใช้พระราชก�าหนด อาทิ ประเทศอินโดนีเซียได้มีความร่วมมือในสองมิติ คือ
การประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมถึงการออกอนุบัญญัติ เร่งด่วน ๕๒ การพัฒนาความร่วมมือด้านประมง และการจัดส่งลูกเรือ
ฉบับและการจัดท�าคู่มือรู้กฎหมายประมง “ฉบับชาวประมง” (๒) ประมงไทยที่ตกค้างในอินโดนีเซียกลับมายังประเทศไทยจ�านวน
การพัฒนาระบบ ประกอบด้วย ระบบการติดตาม ควบคุม และ ๑,๑๗๔ คน ในส่วนของคดีค้ามนุษย์ ในปี ๒๕๕๘ มีสถิติการ
เฝ้าระวัง (Monitoring Control and Surveillance - MCS) และ จับกุมเพิ่มขึ้น สามารถด�าเนินคดีได้ ๓๑๗ คดี ซึ่งมีจ�านวนเพิ่มขึ้น
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) รวมถึงการฝึกอบรม จากเดิม ๒๗๖ คดี มีผู้ต้องหาในคดีจ�านวน ๕๔๗ คน จากเดิม
ผู้สังเกตการณ์บนเรือ (Observer On Board) และ (๓) การบังคับ ๔๑๒ คน และช่วยเหลือผู้เสียหายได้มากขึ้นจาก ๕๙๗ คน
๑๗๗
ใช้กฎหมาย นอกจากนี้ ยังมีการท�างานร่วมกันในระดับระหว่าง เป็น ๗๒๐ คน
ประเทศ โดยมีความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่ม
๓.๒ การบังคับค้าประเวณี
ในปี ๒๕๕๘ ได้ปรากฏข่าวสารเกี่ยวกับการกวาดล้างและจับกุมผู้กระท�าความผิดเกี่ยวกับ
การบังคับค้าประเวณีหรือขายบริการทางเพศในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ เช่น เชียงใหม่ ๑๗๘
หนองคาย ๑๗๙ นครสวรรค์ ๑๘๐ เเละนครปฐม ๑๘๑ เป็นต้น โดยสามารถจับกุม
ผู้กระท�าความผิดและช่วยเหลือผู้เสียหายได้จ�านวนหนึ่งนอกจากนี้ข้อมูลรายงาน
สรุปเกี่ยวกับความผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
พ.ศ. ๒๕๓๙ พบว่ามีผู้กระท�าความผิดในฐานการเป็นผู้ประกอบการผู้ล่อลวง
หน่วงเหนี่ยว กักขัง หรือชักน�าผู้อื่นไปเพื่อค้าประเวณี ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนรู้เห็น
หรือสนับสนุน จ�านวน ๙๗ คน จ�าแนกตามฐานความผิด ดังนี้
๑๗๖ พริมา อัครยุทธ,(๒๕๕๘), “สหภาพยุโรปแจกใบเหลืองเตือนไทยแก้ปม IUU Fishing”, https://www.scbeic.com/th/detail/ product/ 1436, (สืบค้นเมื่อ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)
๑๗๗ รัฐบาลไทย. “รัฐบาลโดย ศปมผ. แถลงการณ์แก้ไขการประมงผิดกฎหมายที่มีความก้าวหน้า เป็นแบบอย่างการปฏิรูปเพื่อการแก้ไขปัญหาคั่งค้างของชาติอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวันที่
มกราคม ๒๕๕๙”. http://www.thaigov.go.th/index.php/th/government-th1/item/ 99258-99258 (สืบค้นเมื่อ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)
๑๗๘ ข่าวสด,“ตร.กวาดล้างค้ากามเชียงใหม่”,http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRReU1qZzRNRE๐yTnc 9PQ==&subcatid= (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์
แนวหน้า,“ต�ารวจรวบกระเทยหนองคาย หาหญิงสาวต�่ากว่า ๑๘ ปีค้ากาม”, http://www.naewna.com/local/143089 (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
๑๗๙ ข่าวสด,“เด้ง ผกก.ไพศาลี เซ่นจับค้ากาม ๑๕ สาวลาว”, http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid= TVRReU1qYzVNRGd5T1E9PQ ==&subcatid=
(สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
๑๘๐ ไอเอ็นเอ็น,“รองผบ.ตร.แถลงปคม.รวบแก๊งค้ามนุษย์สาวลาว”, http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=594150 (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
๑๘๑ มูลนิธิกระจกเงา,“รายงานสถานการณ์ปัญหาเด็กขอทานรอบปี ๒๕๕๘”,http://www.notforsale.in.th/autopagev4/show_page. php?topic_id= 1775&auto_id=7&TopicPk=
(สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
110