Page 138 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 138

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



                ๒  สถานการณ์ทั่วไป



              นิยามการค้ามนุษย์ ตามพิธีสารเพื่อป้องกัน ปราบปราม และลงโทษ  จากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้ หรือรับเงิน หรือ
              การค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก (Protocol to Prevent,   ผลประโยชน์ การแสวงผลประโยชน์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความ
              Suppress and Punish Trafficking in Persons,         ยินยอมของบุคคลผู้มีอ�านาจควบคุมบุคคลอื่น เพื่อความมุ่ง
              Especially Women and Children) ได้ก�าหนดนิยาม       ประสงค์ในการแสวงประโยชน์ การแสวงประโยชน์ อย่างน้อย
              “การค้ามนุษย์” ไว้ในมาตรา ๓ ย่อหน้า (ก) ว่าหมายถึง การจัดหา   ที่สุดให้รวมถึงการแสวงประโยชน์จากการค้าประเวณีของ
              การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคล  บุคคลอื่นหรือการแสวงประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น
              ด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้ก�าลัง หรือด้วยการบีบบังคับ   การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือ
              ในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง   การกระท�าอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การท�าให้ตกอยู่
              ด้วยการใช้อ�านาจโดยมิชอบ หรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัย   ใต้บังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจากร่างกาย ๑๗๑

              รูปแบบของการค้ามนุษย์ในปัจจุบันมีลักษณะของการเคลื่อนย้ายหรืออพยพเหยื่อหรือผู้เสียหายจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่ง
              ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการเคลื่อนย้ายจากประเทศยากจนไปสู่ประเทศร�่ารวย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีการเคลื่อนย้ายเหยื่อหรือผู้เสียหายออกจาก
              ประเทศต้นทางหรือประเทศต้นก�าเนิด (ประเทศที่เป็นแหล่งในการส่งเหยื่อค้ามนุษย์) และอาจน�ามาพักไว้ที่ประเทศทางผ่าน (ประเทศที่
              ถูกใช้เป็นเส้นทางผ่านการเดินทางของเหยื่อค้ามนุษย์) เพื่อน�าไปสู่ประเทศปลายทาง (ประเทศที่เหยื่อหรือผู้เสียหายจะถูกน�าไปใช้ประโยชน์  บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
              หรือแสวงหาผลประโยชน์) ส�าหรับกรณีของประเทศไทยนั้น อยู่ทั้งในสถานะประเทศต้นทาง ทางผ่าน และปลายทางของการค้ามนุษย์

              การแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบจากการค้ามนุษย์ ส่วนใหญ่ผู้เสียหายมักถูกน�าตัวไปใช้หรือแสวงหาประโยชน์ใน ๔ ลักษณะคือ  (๑) การค้า
                                                                                                 ๑๗๒
              ประเวณีหรือขายบริการทางเพศ (๒) การบังคับใช้แรงงาน (๓) การบังคับเป็นขอทาน และ (๔) การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ  ซึ่งข้อมูลจาก
              กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) และส�านักงานอัยการสูงสุด (อส.) แสดงจ�านวนคดีการแสวงหาประโยชน์
              จากบุคคลอื่น ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ โดยจ�าแนกรูปแบบการแสวงหาประโยชน์จากบุคคลอื่นเป็น ๓ ประเภท คือ การแสวงหา
              ประโยชน์ทางเพศ (ค้าประเวณี ขายบริการทางเพศ) การบังคับใช้แรงงาน และการน�าคนอื่นมาขอทาน ดังนี้  ๑๗๓



                            แสวงหาประโยชน์ทางเพศ            บังคับใช้แรงงาน            การน�าคนอื่นมาขอทาน
                พ.ศ.
                             พม.            อส.           พม.           อส.            พม.           อส.

                ๒๕๕๓          ๔๒            ๗๓             ๑๔             ๐              ๑             ๐
                ๒๕๕๔          ๔๕            ๗๘             ๑๐             ๕              ๔             ๑
                ๒๕๕๕          ๔๖            ๗๔              ๙             ๙              ๑             ๐
                ๒๕๕๖         ๒๙๘           ๒๙๙             ๓๗             ๙             ๕๑             ๑



              สถานการณ์ปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทยที่ส�าคัญและอยู่ในความสนใจของสังคมโลก คือ การค้ามนุษย์โดยการแสวงหาประโยชน์
              จากการบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการท�าประมง โดยสืบเนื่องจากรายงาน TIP Report (Trafficking in Persons
              Report) ซึ่งเป็นรายงานประจ�าปีที่กระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาต้องจัดท�าตามกฎหมายคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์
              (Trafficking Victims Protection Act - TVPA) ค.ศ. 2000 เพื่อเสนอต่อรัฐสภา โดยเป็นการประเมินสถานการณ์และการด�าเนินการ
              ต่อต้านการค้ามนุษย์ของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ๑๘๖ ประเทศ และน�ามาจัดอันดับตามเกณฑ์ในกฎหมาย TVPA เป็น ๔ ระดับ
              โดยตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖ ประเทศไทยอยู่ในระดับ Tier 2 Watch List (ประเทศในกลุ่มที่ต้องจับตามอง) ต่อมาในปี ๒๕๕๗
              ประเทศไทยถูกกล่าวอ้างว่า มีการใช้แรงงานทาสและแรงงานที่ผิดกฎหมายในอุตสาหกรรมการท�าประมง ส่งผลให้ถูกลดอันดับจากระดับ ๒





             ๑๗๑   ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์แห่งชาติ, “พิธีสารเพื่อป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์โดยเฉพาะสตรีและเด็กเพิ่มเติมอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้าน
             อาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร”, http://www.nocht.m-society.go.th /human-traffic/law/download/la01.pdf (สืบค้นเมื่อ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
             ๑๗๒   กิตสุรณ สังขสุวรรณ์ ๒๕๕๘), “เรื่องเดิม”, หน้า ๘๓ – ๘๔
             ๑๗๓   ส�านักงานอัยการสูงสุด, “ประเภทคดีของส�านักงานอัยการสูงสุด”, www.caht.ago.go.th/images/documents/sort.pdf (สืบค้นเมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๙)
                                                                                                          108
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143