Page 136 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 136
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๔.๒ ค่าจ้างขั้นต�่า
แม้ตัวเลขค่าแรงขั้นต�่าของแรงงานในประเทศไทยจะอยู่ล�าดับต้น ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน แต่จากการที่ราคาสินค้าอุปโภคบริโภค
มีราคาที่สูงขึ้น จึงมีข้อเรียกร้องจากแรงงานเพื่อให้รัฐพิจารณาปรับขึ้นค่าแรงขั้นต�่าจาก ๓๐๐ เป็น ๓๖๐ บาท กสม. เห็นว่า ในการพิจารณา
ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต�่านั้น รัฐควรพิจารณาเงื่อนไขตามสภาพความเป็นจริง เช่น เงื่อนไขของสถานประกอบการแต่ละสถานประกอบการ
ซึ่งมีความสามารถในการจ่ายค่าแรงแตกต่างกัน เงื่อนไขของค่าครองชีพหรือความจ�าเป็นในการใช้จ่ายในแต่ละพื้นที่ของประเทศมีความ
แตกต่างกันในบริบทของตัวเอง ในจังหวัดที่มีค่าครองชีพสูง อาทิ กรุงเทพมหานคร แรงงานก็มีความจ�าเป็นต้องใช้จ่ายสูงขึ้นเช่นกัน รัฐจึง
จ�าเป็นต้องพิจารณาอย่างเป็นระบบและละเอียดรอบคอบ เนื่องจากการพิจารณาขึ้นค่าแรงขั้นต�่าทั้งประเทศอาจส่งผลให้ราคาสินค้าปรับ
ตัวสูงขึ้น ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็กอาจรับภาระค่าใช้จ่ายไม่ไหว ในขณะเดียวกัน รัฐควรพิจารณาทบทวนแก้ไขกฎหมายให้การ
คุ้มครองค่าแรงขั้นต�่าครอบคลุมถึงลูกจ้างท�างานบ้านด้วย
๔.๓ สิทธิในการรวมตัวและเสรีภาพในการสมาคม
รัฐมีความก้าวหน้าในการจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงาน อนุสัญญาทั้งสองฉบับก่อน ๑๖๗ นอกจากนี้ ตามรัฐธรรมนูญ
๑๖๖
ระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗ ๑๖๕ และ ๙๘ โดยกระทรวง แห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้กลุ่มข้าราชการและเจ้าหน้าที่
แรงงานได้จัดท�า (ร่าง) พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... ของรัฐมีสิทธิในการรวมกลุ่มได้ โดยถือเป็นการรวมกลุ่ม บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
และ (ร่าง) พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... ขึ้น บนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงานของมนุษย์ทุกคน
ซึ่งเป็นการปรับปรุงเนื้อหากฎหมายปัจจุบันให้สอดคล้อง ที่รัฐไม่อาจเลือกปฏิบัติ แต่อย่างไก็ดี เสรีภาพในการรวมกลุ่ม
กับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘ มากขึ้น แต่ผลจาก ของข้าราชการอาจถูกจ�ากัดโดยบทบัญญัติของกฎหมายได้
การรับฟังความคิดเห็นจากหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น เพื่อคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน การรักษาความสงบ
ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญด้านแรงงาน ยังพบว่า เรียบร้อยของบ้านเมือง หรือจากการสั่งการของผู้บังคับบัญชา
มีเนื้อหาในบทบัญญัติบางประการที่ยังควรต้องปรับปรุงแก้ไขเพิ่ม อันเนื่องมาจากเหตุผลความจ�าเป็นในการจัดบริการสาธารณะ
เติมเพื่อให้การคุ้มครองสิทธิของแรงงานเป็นไปอย่างครอบคลุม ประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดิน ฉะนั้น ข้าราชการ
ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น เช่น การใช้ค�าว่า “ลูกจ้าง” ซึ่งมีความหมาย บางประเภทที่เป็นกลไกส�าคัญของประเทศจึงอาจถูกห้าม
แคบกว่าค�าว่า “คนท�างาน” การมีบทบัญญัติที่เป็นการแทรกแซง ไม่ให้จัดตั้งหรือเข้าเป็นสมาชิกสหภาพข้าราชการได้ ๑๖๘ ดังนั้น
จากเจ้าหน้าที่ กรณีการจะจัดตั้งสมาคม สหภาพ สหพันธ์ ฯลฯ รัฐยังควรผลักดันให้ร่างพระราชกฤษฎีกาก�าหนดหลักเกณฑ์
เป็นต้น อย่างไรก็ดี เพื่อให้มีหลักประกันในการคุ้มครองสิทธิ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้าราชการพลเรือนสามัญ
เสรีภาพในการรวมตัวกันเป็นสมาคมและเจรจาต่อรอง กสม. พ.ศ. .... เข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เห็นว่า รัฐบาลควรมีนโยบายและแผนการที่ชัดเจนในการเข้าเป็น โดยเร็วเพื่อให้ข้าราชการมีสิทธิในการจัดตั้งสหภาพ
ภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ เช่นเดียวกับลูกจ้างประเภทอื่น
โดยไม่ต้องรอให้มีการแก้ไขกฎหมายภายในให้สอดคล้องกับ
๑๖๕ สาระส�าคัญ คือ ๑) นายจ้างและคนท�างานทุกคน ไม่ว่าจะเป็นคนท�างานในภาครัฐ หรือเอกชน ไม่ว่าจะเป็นแรงงานในระบบหรือแรงงานนอกระบบ มีสิทธิที่จะรวมตัวจัดตั้งหรือเข้าเป็น
สมาชิกขององค์กรของตน เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของตนได้อย่างอิสระโดยไม่จ�าเป็นต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากหน่วยงานใด ๒) การรวมตัวนั้นเป็นไปได้อย่างเสรี ปราศจากการเลือกปฏิบัติ
อันเนื่องมาจากความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ อาชีพ ศาสนา เพศ อายุ ความคิดเห็นทางการเมือง สีผิว ๓) มีเสรีภาพในการที่จะยกร่างธรรมนูญข้อบังคับขององค์กรตนเอง และคัดเลือก
ผู้แทนของตน และการจัดการบริหารองค์กรของตนโดยที่รัฐจะต้องหลีกเลี่ยงที่จะเข้าไปแทรกแซงหรือจ�ากัดสิทธิดังกล่าว ๔) องค์กรนายจ้างและองค์กรแรงงานมีสิทธิและเสรีภาพที่จะจัดตั้ง
หรือเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชิกขององค์กรระดับสหพันธ์ หรือสภา รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศได้
๑๖๖ สาระส�าคัญคือ ๑) รัฐต้องคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวจากการกระท�าใด ๆ อันเป็นการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระท�าที่ท�าให้แรงงานไม่สามารถเข้า
ร่วมสหภาพแรงงานได้ หรือต้องออกจากการเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานหรือการเลิกจ้าง เพราะการเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหภาพแรงงาน
๒) รัฐมีหน้าที่ต้องให้ความคุ้มครองแก่องค์กรของนายจ้างและองค์กรแรงงานให้ปลอดจากการแทรกแซงกันและกัน ๓) รัฐต้องด�าเนินการพัฒนากระบวนการต่าง ๆ ให้กฎหมายคุ้มครองสิทธิใน
การรวมตัวและการเจรจาต่อรองร่วมสามารถบังคับใช้ได้จริง
๑๖๗ รายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย ที่ ๓๒๓/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘
๑๖๘ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย ที่ ๓๒๓/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘
106