Page 134 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 134
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ส�าหรับการคุ้มครองลูกจ้างในระบบประกันสังคม รัฐบาลได้ ในเรื่องสิทธิการรวมตัวเป็นสหภาพแรงงานและการเจรจา
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายโดยประกาศใช้พระราชบัญญัติประกัน ต่อรอง พบว่า ยังมีการเคลื่อนไหวเพื่อผลักดันเรื่องนี้
สังคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ ซึ่งกฎหมาย อย่างต่อเนื่อง โดยเครือข่ายสหภาพแรงงานในไทย ๗ แห่ง
ดังกล่าวได้เพิ่มเติมสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้ประกันตนมากขึ้น ๑๖๒ ได้ยื่นหนังสือประท้วงรัฐบาลไทยต่อองค์การแรงงานระหว่าง
เช่น การไม่จ�ากัดสิทธิประโยชน์กรณีการคลอดบุตร จาก ประเทศ (ILO) โดยระบุว่า ประมาณร้อยละ ๗๕ ของกลุ่ม
เดิมสามารถรับสิทธิได้ไม่เกินสองครั้ง ให้ความคุ้มครองสิทธิ แรงงานไม่ได้รับการรับรองเกี่ยวกับเสรีภาพในการรวมตัวกัน
ประโยชน์กรณีว่างงานแก่ผู้ประกันตน กรณีนายจ้างหยุดกิจการ และเสรีภาพในการร่วมเจรจาต่อรอง ท�าให้ไทยเป็นประเทศ
ชั่วคราวเนื่องจากเหตุสุดวิสัยโดยยังไม่มีการเลิกจ้าง จากเดิม ที่มีอัตราการเป็นสมาชิกสหภาพของแรงงานต�่าที่สุดในเอเชีย
มีสิทธิได้รับเมื่อถูกเลิกจ้างหรือลาออก การก�าหนดให้รัฐบาล ตะวันออกเฉียงใต้ คิดเป็นร้อยละ ๑.๕ เท่านั้น ซึ่งหลายกรณี
ร่วมจ่ายเงินสมทบให้กับผู้ประกันตน ตามมาตรา ๔๐ ไม่เกิน ที่เกิดขึ้น แรงงานจะถูกไล่ออกเมื่อพยายามรวมกลุ่มเพื่อการ
๑๖๓
กึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตน จากเดิมกฎหมาย เจรจาต่อรองกับนายจ้าง หรือถูกกดดันให้ลาออก
ไม่ได้ก�าหนดให้รัฐต้องร่วมจ่ายเงินสมทบแต่เป็นในลักษณะ
การจัดสรรเงินอุดหนุน เป็นต้น บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๔. การประเมินสถานการณ์
โดยที่ลักษณะทั่วไปของสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ไทยเป็นภาคี ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประจ�ากติกา
มีลักษณะเป็นสิทธิเชิงบวกหรือสิทธิที่รัฐจะต้องด�าเนินการให้เกิด ICESCR รัฐธรรมนูญและกฎหมายไทย ค�าแถลงการณ์
ความก้าวหน้า (Positive Rights/Progressive Realization ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๑๖๔ ตลอดจนข้อเสนอแนะ
of Rights) เป็นล�าดับ และใช้เวลาในการที่จะท�าให้สิทธิดังกล่าว จากกระบวนการ UPR รวมทั้งการให้ค�ามั่นโดยสมัครใจ
เกิดขึ้นจริง โดยรัฐมีพันธกรณี ที่จะต้องจัดสรรทรัพยากรที่มี (Pledge) ต่อที่ประชุม UPR ซึ่งจากการติดตามสถานการณ์
เพื่อให้สิทธิได้เกิดความก้าวหน้าเป็นล�าดับ สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับแรงงานไทย กสม. เห็นว่า
รัฐจึงมีหน้าที่และพันธกิจหลายประการที่ต้องด�าเนินการให้
สอดคล้องกับสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่
๑๖๒ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รายงาน “สัญญาจ้างอยุติธรรม: การเอารัดเอาเปรียบแรงงานไทยในภาคเกษตรกรรมของอิสราเอล” (A Raw Deal: Abuses of Thai Workers in
Israel’s Agricultural Sector), กลุ่มเฝ้าระวังสิทธิมนุษยชน (Human Rights Watch) ในนครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา
๑๖๓ สหภาพแรงงานโลกประท้วงรัฐบาลไทยละเมิดเสรีภาพ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ http://www.dailynews.co.th/foreign/352751 ข้อมูลจากคู่มือการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการแรงงาน ประจ�า
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ส�าหรับเจ้าหน้าที่) กองสวัสดิการเเรงงาน กรมสวัสดิการเเละคุ้มครองเเรงงาน (ตุลาคม ๒๕๕๗)
๑๖๔ ค�าแถลงการณ์ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ในการลดความเหลื่อมล�้าของสังคมข้อ ๓.๑ ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ที่
มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผู้ด้อยโอกาส และแรงงานข้ามชาติที่ถูกกฎหมาย พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนา
ทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ทั้งจะเชื่อมโยงข้อมูลและการด�าเนินการระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน เพื่อให้ตรงกับความต้องการของพื้นที่และของประเทศโดยรวม
นอกจากนี้จะส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบที่ถูกกฎหมายมากขึ้น
ข้อ ๓.๒ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง การทารุณกรรมต่อแรงงานข้ามชาติ การท่องเที่ยวที่เน้นบริการทางเพศและเด็ก และปัญหาคนขอทานโดยการ
ปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับที่จ�าเป็นและเพิ่มความเข้มงวดในการระวังตรวจสอบ
ข้อ ๓.๕ เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลายเนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบ ความคุ้มครอง
ทางสังคมของแรงงานอาเซียน
104