Page 139 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 139

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘



        ซึ่งต้องจับตามองเป็นพิเศษ (Tier 2  Watch List) มาอยู่ในระดับ ๓ โดยรายงานระบุว่า ประเทศไทยไม่ได้แสดงความก้าวหน้าในการด�าเนินงาน
        ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เท่าที่ควร โดยมีประเด็นส�าคัญ ๔ เรื่อง คือ (๑) การคัดแยกผู้เสียหายในประชากรกลุ่มเสี่ยงด�าเนินการ
        ได้ไม่เพียงพอ และไม่ได้ส่งตัวผู้เสียหายเข้ารับการคุ้มครอง (๒) ไม่พบว่ามีการด�าเนินคดีกับเจ้าของเรือที่บังคับใช้แรงงาน (๓) ไม่พบว่า
        มีการด�าเนินคดีกับผู้กระท�าความผิดในข้อหาการค้ามนุษย์ และ (๔) ไม่มีการรายงานผลการสอบสวนและด�าเนินคดีกับเจ้าหน้าที่
        ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีค้ามนุษย์



          ๓. สถานการณ์ปี ๒๕๕๘


        สถานการณ์การค้ามนุษย์ในประเทศไทย จ�าแนกตามลักษณะของการแสวงหาประโยชน์ ๔ ลักษณะ ดังนี้



        ๓.๑  การบังคับใช้แรงงาน

        การแสวงหาประโยชน์จากการบังคับใช้แรงงานอาจแบ่งออกเป็น   ในปี ๒๕๕๘ รายงาน TIP Report (Trafficking in Persons
        ๒ ประเภท ได้แก่ การบังคับใช้แรงงานในอุตสาหกรรมประมง   Report) ยังคงจัดอันดับให้ประเทศไทยอยู่ในระดับที่ ๓ (Tier 3)
        และการแสวงหาประโยชน์จากแรงงานข้ามชาติ รวมถึงแรงงาน   โดยรายงาน ระบุว่า “ประเทศไทยยังไม่มีมาตรการตรวจสอบหรือ
        ที่เป็นผู้โยกย้ายถิ่นฐานโดยไม่ปกติ (Irregular Migrant) ทางทะเล    คัดกรองเหยื่อหรือผู้เสียหายที่มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ถึงแม้ว่า
        เช่น ชาวโรฮินจา เป็นต้น โดยเชื่อว่ามีการค้ามนุษย์ในกระบวนการ  ประเทศไทยมีกระบวนการในการคัดกรองเหยื่อหรือผู้เสียหาย
        โยกย้ายถิ่นฐานชาวโรฮินจา เนื่องจากมีการพบหลุมศพของ   แต่กระบวนการดังกล่าวยังคงไม่เพียงพอและยังคงต้องการ
        คนกลุ่มนี้ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่คาดว่าเป็นเหยื่อของการค้า  ความแน่นอน การสัมภาษณ์หรือสอบถามเหยื่อหรือผู้เสียหายได้ใช้
        มนุษย์ ในหลายกรณีที่การแสวงหาประโยชน์ทั้งสองประเภทมีความ  ระยะเวลาเพียงสั้น ๆ และกระท�าโดยเปิดเผย ซึ่งอาจไม่ปลอดภัย
        เกี่ยวพันกัน กล่าวคือ มีผู้เสียหายเป็นบุคคลหรือกลุ่มคนเดียวกัน   แก่เหยื่อหรือผู้เสียหาย เพราะขบวนการค้ามนุษย์อาจพบเห็นเหยื่อ
        โดย Greenpeace Thailand ได้เผยแพร่ Infographic ปัญหา  หรือผู้เสียหายได้ การบริการล่ามแปลภาษาของเหยื่อหรือผู้เสียหาย
        วิกฤตทะเลไทย  เมื่อเดือนมิถุนายน  ๒๕๕๘  ระบุเกี่ยวกับ   ก็ยังคงมีจ�ากัด การขาดแคลนสถานที่ที่มีความเป็นส่วนตัวและมี
        การบังคับใช้แรงงานบนเรือประมงว่าในจ�านวนแรงงานบนเรือ  ความปลอดภัยในการคัดกรองเหยื่อหรือผู้เสียหาย และเจ้าหน้าที่
        ประมง ร้อยละ ๙๔ เป็นแรงงานที่ไม่มีเอกสารสัญญาจ้างตามกฎหมาย    ยังคงมีความไม่เข้าใจเรื่องการค้ามนุษย์หรือสัญญาณซึ่งบ่งบอกถึง
        ร้อยละ ๗๘ ไม่มีสวัสดิการพื้นฐาน และร้อยละ ๕๙ เคยอยู่ใน  การค้ามนุษย์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ท�าให้เกิดการคัดกรองเหยื่อ
        เหตุการณ์สังหารแรงงานบนเรือ ๑๗๔                      หรือผู้เสียหายที่ไม่มีประสิทธิภาพ เหยื่อหรือผู้เสียหายบางกลุ่ม
                                                             ไม่ได้รับการคัดกรอง และเหยื่อหรือผู้เสียหายบางกลุ่มอาจถูก
                                                             ส่งกลับประเทศต้นทางโดยปราศจากการตรวจสอบและคัดกรอง ๑๗๕
























        ๑๗๔   กรีนพีช,“Infographic ปัญหาวิกฤตทะเลไทย เรือประมงที่ไร้ความรับผิดชอบ ต้นเหตุปัญหาวิกฤตทะเลไทย”, http://www.greenpeace.org/ seasia/th/press/reports/ocean-
        crises-in-Thailand-infographic/, (สืบค้นเมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๙)
        ๑๗๕   กิตสุรณ  สังขสุวรรณ์. (๒๕๕๘). สิทธิมนุษยชนและการค้ามนุษย์ Human Rights and Human Trafficking. วารสารกฎหมายนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า ๑๐๑

         109
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144