Page 141 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 141

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘




           ล�าดับ       การกระท�าผิดในฐาน         อายุ ๑๔ ปี – ไม่เกิน ๑๘ ปี  อายุ ๑๘ ปีขึ้นไป    รวม
                                                     ชาย        หญิง       ชาย         หญิง
             ๑       ผู้ประกอบการ                                            ๑         ๒๑          ๒๒
             ๒       ผู้ล่อลวง หน่วงเหนี่ยว กักขัง    ๑          ๕          ๒๗         ๓๘          ๗๑
                     หรือชักน�าผู้อื่นไป
                     เพื่อการค้าประเวณี
             ๓       ผู้เกี่ยวข้อง                                           ๒           ๒          ๔
                          รวม                                                                      ๙๗






        ๓.๓  การบังคับขอทาน
        สถิติการรับแจ้งเบาะแสการน�าเด็กมาเป็นเครื่องมือในการขอทานของโครงการรณรงค์ยุติธุรกิจเด็กขอทาน มูลนิธิกระจกเงา พบว่า มีจ�านวน
        การรับแจ้งเบาะแสอยู่ที่ประมาณ ๓๐๐ ราย ลดลงจากปี ๒๕๕๗ ที่มีจ�านวนการรับแจ้งเบาะแส รวมทั้งสิ้น ๔๐๔ ราย  ๑๘๒


        สถิติจ�านวนรับเเจ้งมูลนิธิกระจกเงา

              ล้านคน
            ๔๕๐
            ๔๐๐
            ๓๕๐
            ๓๐๐
            ๒๕๐
            ๒๐๐
            ๑๕๐
                                                                                              จ�านวนการรับเเจ้งเบาะเเส
            ๑๐๐
             ๕๐
              ๐                                                                            พ.ศ.
                         ๒๕๕๕            ๒๕๕๖             ๒๕๕๗           ๒๕๕๘




        ๓.๔  การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ

        ส�าหรับการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบจากการค้ามนุษย์ในลักษณะของการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ยังไม่มีรายงานตัวเลขที่ชัดเจน
        และมีรายงานการศึกษาในเรื่องนี้น้อยมาก ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการค้าอวัยวะจะกระท�าในตลาดมืดและหลายประเทศก�าหนดให้การค้า
        อวัยวะเป็นการกระท�าที่ผิดกฎหมาย อย่างไรก็ดี ได้มีรายงานข่าวว่ามีการค้าอวัยวะ อาทิ ไต ในหลายประเทศโดยเฉพาะในกลุ่มประชาชน
        ที่มีความยากจน เช่น ในประเทศกัมพูชามีกรณีการลักลอบค้าอวัยวะในโรงพยาบาลทหาร ในกรุงพนมเปญ ทั้งที่เป็นไปโดยสมัครใจ
        หรือถูกบังคับ หรือมีการสมรู้ร่วมคิดระหว่างผู้บริจาคกับผู้รับบริจาค โดยผ่านนายหน้า ส�าหรับประเทศไทยได้มีความพยายามที่จะป้องกัน
        ปัญหาดังกล่าวโดยมีโรงพยาบาลหลายแห่งก�าลังถูกสอบสวน เนื่องจากมีการปลอมเอกสารในการพิสูจน์บุคคลผู้บริจาคและผู้รับ ในประเทศไทย
        มีผู้ป่วยที่รอรับบริจาคไตสูงถึง ๔,๓๒๑ ราย ในขณะที่มีผู้บริจาคเพียง ๕๘๑ ราย ๑๘๓   โดยที่สภากาชาดไทยในฐานะที่เป็นองค์กรก�ากับดูแล
        การบริจาคอวัยวะได้ด�าเนินโครงการน�าร่องให้โรงพยาบาลต่าง ๆ ต้องส่งเอกสารรายละเอียดของผู้บริจาคที่ยังมีชีวิต เพื่อป้องกันการปลอม
        เอกสารในการพิสูจน์บุคคลผู้บริจาคและผู้รับ


        ๑๘๒   มูลนิธิกระจกเงา,“รายงานสถานการณ์ปัญหาเด็กขอทานรอบปี ๒๕๕๘”,http://www.notforsale.in.th/autopagev4/show_page. php?topic_id= 1775&auto_id=7&TopicPk=
        (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)
        ๑๘๓   The National, “Risk of a new organ trafficking route in South East Asia”, http://www.thenational.ae/world/southeast-asia/risk-of-a-new-organ-trafficking-route-
        in-south-east-asia (สืบค้นเมื่อ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙)

         111
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146