Page 142 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 142
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๔. การประเมินสถานการณ์
ประเทศไทยได้ใช้มาตรการด้านกฎหมายในการป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์มาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งก�าหนดให้มีคณะกรรมการประสาน
และก�ากับการด�าเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ระดับชาติ ภูมิภาค
จังหวัด มีนโยบายยุทธศาสตร์และมาตรการในการป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙ การมีกองทุนเพื่อการป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ มีกลไกประสานงานในระดับระหว่างประเทศ และมี
ระบบฐานข้อมูลการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ แต่สถานการณ์การค้า
มนุษย์ในประเทศไทยยังเป็นเรื่องที่รัฐต้องเฝ้าระวัง ติดตาม และท�างานในเชิงรุก
มากขึ้น โดยรัฐบาลจ�าเป็นต้องด�าเนินการในเรื่องต่อไปนี้ ให้มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น กล่าวคือ
การบังคับใช้กฎหมาย แม้ว่ารัฐบาลจะมีการออกกฎหมายฉบับต่าง ๆ เพื่อแก้ไข
ปัญหาการค้ามนุษย์ และมีรายงานผลการจับกุมและด�าเนินคดีผู้ที่กระท�าความผิด
ในคดีการค้ามนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้น แต่ภาพรวมของสถานการณ์การค้ามนุษย์ และ บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
การบังคับใช้กฎหมายเพื่อด�าเนินคดีและพิพากษาลงโทษผู้กระท�าความผิดฐาน ผู้เสียหายเหล่านั้นกลับเข้าสู่วงจรการค้ามนุษย์
ค้ามนุษย์ รวมถึงผู้ที่ท�าให้เหยื่อหรือผู้เสียหายต้องถูกบังคับใช้แรงงานในภาค ซ�้าอีก ทั้งนี้ ในขั้นตอนของการให้ความช่วยเหลือ
ธุรกิจการค้าและการส่งออกของประเทศยังไม่ชัดเจนนัก ซึ่งรัฐควรด�าเนินการ รัฐควรจัดให้มีล่ามแปลภาษาส�าหรับเหยื่อหรือผู้เสีย
เพื่อบังคับใช้กฎหมายให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง เพื่อแสดงให้เห็นถึง หายที่เป็นแรงงานข้ามชาติอย่างเพียงพอ เพื่อท�าให้
ความพยายามในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการน�าตัวผู้กระท�าความผิดฐานค้า กระบวนการสื่อสารเกิดความเข้าใจตรงกัน ซึ่งจะ
มนุษย์ และผู้ที่หลอกลวงเหยื่อหรือผู้เสียหาย/นายหน้าในการจัดหาเหยื่อ ส่งผลให้การช่วยเหลือเยียวยาเหยื่อหรือผู้เสียหาย
หรือผู้เสียหายเข้าสู่วงจรการค้ามนุษย์มาด�าเนินคดี
ที่เป็นแรงงานข้ามชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การด�าเนินงานแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่างบูรณาการ รัฐบาลมีความ การพัฒนาความร่วมมือในระดับอาเซียน ปัญหา
พยายามในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ทั้งในส่วนของการออกกฎหมาย การค้ามนุษย์เป็นปัญหาที่มีความเชื่อมโยงกัน
เพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ การจัดตั้งหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ ระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม
โดยตรง ตลอดจนการจัดตั้งคณะกรรมการชุดต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา อาเซียน ซึ่งมีทั้งประเทศที่อยู่ในสถานะประเทศ
แต่การด�าเนินงานดังกล่าวต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากองค์กร/หน่วยงาน ต้นทาง ทางผ่าน และประเทศปลายทาง ทั้งนี้
ภาคประชาสังคม ที่มีประสบการณ์ตรงในการท�างานเกี่ยวข้องกับปัญหา หากการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์กระท�าจ�ากัด
การค้ามนุษย์ ซึ่งหากรัฐและองค์กร/หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการด�าเนินงาน เพียงประเทศใดประเทศหนึ่ง ย่อมไม่สามารถแก้ไข
ที่สอดคล้องและร่วมมือกัน ย่อมจะส่งผลให้การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาการค้ามนุษย์ได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น รัฐบาลควร
และการให้ความช่วยเหลือเหยื่อหรือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ด�าเนินการ ด�าเนินการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ
ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์
การดูแลช่วยเหลือเหยื่อจากขบวนการค้ามนุษย์ จากกรณีการช่วยเหลือแรงงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ไทยที่เกาะอัมบน ประเทศอินโดนีเซีย สะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการช่วยเหลือ อาทิ การลงนามความร่วมมือ (MOU) ในการแก้ไข
เหยื่อหรือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ของรัฐบาลยังขาดประสิทธิภาพและ ปัญหาการค้ามนุษย์ การสนับสนุนหรือผลักดันให้
ไม่ทันท่วงที เนื่องจากพบว่า เหยื่อหรือผู้เสียหายบางรายไม่ได้รับความช่วยเหลือ ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ เข้าร่วมเป็น
มาเป็นระยะเวลามากกว่า ๕ ปี นับตั้งแต่เดินทางออกจากประเทศไทย ซึ่งรัฐ ภาคีในอนุสัญญาอาเซียนต่อต้านการค้ามนุษย์
จ�าเป็นต้องมีการท�างานเชิงรุกในการสืบหาเบาะแสว่ายังมีเหยื่อหรือผู้เสียหาย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก (ASEAN Convention
ที่เป็นคนไทยถูกล่อลวงไปใช้แรงงานยังประเทศอื่น ๆ อีกหรือไม่ เพื่อจะได้ให้ against Trafficking, Especially Women and
การช่วยเหลือเหยื่อหรือผู้เสียหายเหล่านั้นได้อย่างทันท่วงที ในทางกลับกันเหยื่อ Children) เพื่อให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว ๑๘๔
หรือผู้เสียหายที่อยู่ในประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานข้ามชาติ รัฐบาล
ต้องให้ความส�าคัญในการช่วยเหลือและดูแล เพื่อป้องกันไม่ให้เหยื่อหรือ
๑๘๔ เงื่อนไขการบังคับใช้ของอนุสัญญาฯ คือ ต้องมี ๖ ประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าเป็นภาคี โดยประเทศไทยเป็นประเทศล�าดับที่ ๓ ต่อจากกัมพูชาและสิงค์โปร์
112