Page 131 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 131

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘




         ๒.๓  สิทธิในการรวมตัวและเสรีภาพในการสมาคมด้านแรงงาน

         ประเทศไทยได้เข้าร่วมก่อตั้งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ตั้งแต่ปี    การรวมกลุ่มของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
         พ.ศ. ๒๔๖๒ โดยปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการท�างาน (ILO   ในภาพรวมแต่อย่างใด  อีกทั้งการที่ระเบียบ
         Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)    ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๓ บัญญัติ
         ก�าหนดให้ประเทศสมาชิกเคารพและปฏิบัติตามสิทธิในการท�างานขั้นพื้นฐาน  ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการ
         ครอบคลุมทั้งหมด ๔ ประเด็น คือ (๑) เสรีภาพในการสมาคมและการรับรอง   รวมกลุ่ม ครอบคลุมเฉพาะข้าราชการพลเรือน
         ที่มีผลจริง ส�าหรับสิทธิในการต่อรองรวม (๒) การขจัดการใช้แรงงานบังคับ   ยังไม่รวมถึงข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
                                                                                            ๑๕๙
         ในทุกรูปแบบ (๓) การยกเลิกอย่างได้ผลต่อการใช้แรงงานเด็ก และ (๔)    ประเภทอื่นอีกเป็นจ�านวนมาก  ซึ่งส�านักงาน
         การขจัดการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและประกอบอาชีพ ๑๕๖  แต่ยังมีอนุสัญญา   คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ได้เสนอ
         ด้านแรงงานที่ประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบัน ๑๕๗  ซึ่งที่เกี่ยวข้องกับการสมาคมและ  (ร่าง)  พระราชกฤษฎีกาก�าหนดหลักเกณฑ์
         เจรจาต่อรอง ได้แก่ อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗   วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้าราชการ
         ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน ค.ศ.๑๙๔๘   พลเรือนสามัญ พ.ศ. .... ให้ข้าราชการพลเรือน
         และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง ค.ศ.๑๙๔๙   มีเสรีภาพในการรวมกลุ่มตามที่บัญญัติไว้
         ซึ่งในเรื่องนี้ กระทรวงแรงงานได้มีการเตรียมการเพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา   ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งต้องไม่กระทบประสิทธิภาพใน
         ทั้งสองฉบับดังกล่าว โดยได้เสนอเรื่องให้รัฐสภาพิจารณาไปแล้ว แต่เนื่องจาก   การบริหารราชการแผ่นดิน และความต่อเนื่อง
         ได้เกิดการรัฐประหารในปี ๒๕๕๗ ท�าให้เรื่องดังกล่าวถูกระงับไป  ในการจัดท�าบริการสาธารณะ และต้องไม่มี
                                                                      วัตถุประสงค์ทางการเมือง โดยการรวมกลุ่ม
         ในประเทศไทยพบว่า ในภาครัฐวิสาหกิจมีจ�านวนสหภาพแรงงานและสหพันธ์   ดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
         ในรัฐวิสาหกิจ รวม ๔๙ แห่ง ในภาคเอกชนมีสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน    เงื่อนไขที่ก�าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา
         สภาองค์การลูกจ้าง สมาคมนายจ้าง และสภาองค์การนายจ้าง รวม ๑,๘๔๑ แห่ง ๑๕๘
         แต่ในภาคราชการพบว่ายังไม่มีการจัดตั้งสหภาพหรือสหพันธ์ด้านแรงงาน   ต่อมา คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติหลักการ (ร่าง)
         แต่อย่างใด  ทั้งที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๔   พระราชกฤษฎีกาก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
         ได้บัญญัติรับรองเสรีภาพในการรวมกลุ่มของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐไว้    เงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้าราชการพลเรือนสามัญ
         แต่ปัจจุบันก็ยังไม่มีกฎหมายฉบับใดก�าหนดหลักการและสาระส�าคัญของ   พ.ศ. .... เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๔ โดยมี
                                                                      สาระส�าคัญในการก�าหนดให้ข้าราชการมีเสรีภาพ
                                                                      ในการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นสหภาพข้าราชการ โดย
                                                                      แบ่งเป็นข้าราชการ ๖ ประเภท เพื่อส่งเสริมความ
                                                                      สัมพันธ์ระหว่างสมาชิกกับผู้บังคับบัญชา ช่วยเหลือ
                                                                      สมาชิกในการอุทธรณ์  ร้องทุกข์  คุ้มครอง
                                                                      สิทธิประโยชน์ของสมาชิกเกี่ยวกับสภาพ
                                                                      การรับราชการ  และรักษาผลประโยชน์ของ
                                                                      ทางราชการ โดยปัจจุบันร่างกฎหมายดังกล่าว
                                                                      ได้ผ่านการตรวจพิจารณาของส�านักงานคณะ
                                                                      กรรมการกฤษฎีกาแล้ว  แต่ยังไม่ปรากฏว่า
                                                                      มีการผลักดันร่างกฎหมายนี้ให้สภานิติบัญญัติ
                                                                      แห่งชาติให้ความเห็นชอบแต่อย่างใด










         ๑๕๖   ข้อมูลจาก http://www.unionesso.org/
         ๑๕๗    ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบัน อนุสัญญาที่เป็นกรอบมาตรฐานแรงงานและเป็นอนุสัญญาพื้นฐาน ๓ ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ ๘๗ ฉบับที่ ๙๘ และฉบับที่ ๑๑๑
         ๑๕๘   ข้อมูลจ�านวนสหภาพ สหพันธ์ และสภาที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ของส�านักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
         ๑๕๙   บทความเรื่อง “เมื่อข้าราชการไทยจะรวมกลุ่มเป็นสหภาพ” โดย เจษฎา  ประกอบทรัพย์ และนิสากร  วรจันทร์

         101
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136