Page 111 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 111

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘



         ๔  การประเมินสถานการณ์


        จากการประมวลข้อมูลสถานการณ์การบริหารจัดการพลังงาน เหมืองแร่ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน และป่าไม้ และการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
        พิเศษอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิชุมชน ตลอดปี ๒๕๕๘ อาจกล่าวได้ว่า สิทธิชุมชนได้รับผลกระทบจากนโยบาย มาตรการ และการด�าเนินการ
        ของเจ้าหน้าที่รัฐหลายกรณี ปัญหาส�าคัญ คือ การขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนนับตั้งแต่การเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง
        ครบถ้วนจากหน่วยงานของรัฐ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนที่จะได้รับผลกระทบในกระบวนการประเมินผลกระทบ
        ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (EHIA) ยังไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ขาดความสมบูรณ์ และ/หรือเป็นอิสระ เนื่องจาก
        เจ้าของโครงการเป็นผู้จัดท�ารายงานเอง สิทธิของประชาชนและชุมชนที่ได้รับผลกระทบก็ยังไม่ได้รับการเยียวยาอย่างเป็นธรรม และ
        มุ่งเฉพาะการจ่ายค่าชดเชยในรูปของตัวเงินเท่านั้น ซึ่งการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนควรจะค�านึงถึงมิติอื่น เช่น
        การท�าให้กลับคืนสู่สภาพเดิม การท�าให้พอใจ การประกันว่าจะไม่เกิดเหตุการณ์ซ�้าอีก เป็นต้น ทั้งนี้ มีข้อสังเกตเพิ่มเติมในรายประเด็น ดังนี้





                                               ๔.๑   การบริหารจัดการพลังงาน

                                               รัฐด�าเนินการเพื่อให้ประเทศไทยมีพลังงานทางเลือกอื่นทดแทนพลังงานหลัก
                                               เช่น กระแสไฟฟ้า แต่ยังปรากฏข้อมูลว่า รัฐยังมิได้ค�านึงถึงผลกระทบที่อาจจะ
                                               เกิดขึ้นจากการด�าเนินการหรือจัดให้มีมาตรการในการชดเชยเยียวยาผู้ได้รับ
                                               ผลกระทบอย่างเพียงพอ เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่รัฐออกประกาศ
                                               กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก�าหนดให้ใช้ประมวลหลักการ
                                               ปฏิบัติ (CoP) แทนการจัดท�ารายงาน EIA ส่งผลให้ไม่มีมาตรฐาน/เครื่องมือ
                                               ในการคุ้มครองสิทธิของชุมชน ทั้งในการด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ขาดกระบวนการ
                                               มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และการติดตามประเมินผล






        ๔.๒   เหมืองแร่

        รัฐด�าเนินการโดยมุ่งเน้นความเติบโตในมิติด้านเศรษฐกิจแต่เพียง   บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การขาดกระบวนการเชื่อมโยง
        อย่างเดียว โดยมิได้ค�านึงถึงวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชนและมิได้  การท�างานกับภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะกับประชาชนในพื้นที่
        ค�านึงถึงผลกระทบด้านอื่นที่อาจเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน เช่น    รวมทั้งขาดการติดตามและประเมินผลกระทบในด้านต่าง ๆ
        ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน  ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม    อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ รัฐยังขาดกรอบในการควบคุมก�ากับดูแล
        ในบางกรณีที่มีความจ�าเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา  หรือ   การประกอบกิจการของภาคธุรกิจ ขาดกระบวนการสนับสนุน
        ยุติความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน พบว่า   จูงใจให้ภาคธุรกิจประกอบกิจการบนพื้นฐานของการเคารพ
        หน่วยงานของรัฐไม่สามารถเข้ามาด�าเนินการตามอ�านาจหน้าที่   สิทธิมนุษยชน ตลอดจนไม่มีความชัดเจนในการด�าเนินการ
        ได้อย่างทันท่วงที โดยมักจะมีข้อจ�ากัดด้านงบประมาณ การขาดแคลน   กับภาคธุรกิจที่ด�าเนินกิจการที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน


        ๔.๓   การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน และป่าไม้

        ปัญหาที่สืบเนื่องจากการใช้ค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๔/๒๕๕๗ และที่ ๖๖/๒๕๕๗ นั้น เห็นว่า รัฐยังไม่ได้ด�าเนินการตรวจสอบพื้นที่ป่าไม้
        ตามค�าสั่งฯ อย่างเพียงพอ และการด�าเนินการตามค�าสั่งดังกล่าวจะต้องค�านึงถึงความแตกต่างของพื้นที่ วัฒนธรรม และวิถี
        การด�ารงชีวิต นอกจากนี้ ยังไม่มีมาตรการที่ชัดเจนในการก�ากับดูแลเจ้าหน้าที่ให้ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ หลีกเลี่ยงการใช้วิธีการบังคับ
        ไล่รื้อทรัพย์สิน  และเพิ่มความระมัดระวังมิให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนเกินกว่าความจ�าเป็น  ทั้งนี้  หากรัฐไม่สามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบ
        ที่อาจเกิดกับชุมชนได้ รัฐก็ควรที่จะมีมาตรการในการเยียวยาแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการด�าเนินการอย่างเหมาะสม






         81
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116