Page 114 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 114

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘




              ๒. อัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษา

                จากสถิติดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นถึง  ที่เริ่มเข้ารับการศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
                อัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษา โดยพบว่า    ชั้นปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
                ผู้เรียนซึ่งเริ่มเข้ารับการศึกษาในระดับ  ชั้นปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่น ร้อยละ ๘๖.๒ เพิ่มขึ้นจาก
                ประถมศึกษา ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ร้อยละ ๒.๙ ประเภทสามัญศึกษา มีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่น
                ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่น  ร้อยละ ๘๙.๕ เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา ๒๕๕๕ ร้อยละ ๒.๗ และประเภทอาชีวศึกษา
                ร้อยละ ๙๓.๑ ลดลงจากปีการศึกษา ๒๕๕๕   มีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่น ร้อยละ ๘๐.๖ เพิ่มขึ้นจาก ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ร้อยละ
                ร้อยละ  ๒.๔  ส่วนในระดับมัธยมศึกษา  ๑.๘  ๑๑๙   อัตราการคงอยู่ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษา ๒๕๕๗

                ตอนต้น ซึ่งเริ่มเข้ารับการศึกษาตั้งแต่ชั้น  เมื่อเทียบกับปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเว้นแต่ในระดับประถมศึกษา
                มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ถึง  ที่ลดลงโดยในช่วงที่มีการเลื่อนชั้นจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปศึกษาในระดับ
                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๖    มัธยมศึกษาตอนปลายมีการตกหล่นของนักเรียนมากที่สุด และในแต่ละปีผู้เรียน
                มีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่น ร้อยละ ๙๒.๗ ลดลง   ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจะมีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่นน้อยที่สุด รองลงมา
                จากปีการศึกษา ๒๕๕๕ ประมาณร้อยละ    คือมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญ มัธยมศึกษาตอนต้น และประถมศึกษา
                ๑.๘๗ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย     ตามล�าดับ                                                         บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม






              ๒.๒   คุณภาพการศึกษา

              มีตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา ๓  ตัวชี้วัด ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET Programme for
              International Student Assessment: O-NET PISA) ความสามารถในการคิดของผู้เรียน (GAT) ความสามารถในการ
              อ่าน เขียนและค�านวณของประชากรอายุ ๖ ปีขึ้นไป



              ๑.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ในการศึกษา  นอกจากนี้ ข้อมูลจากโครงการประเมินผลการศึกษานักเรียนนานาชาติ  (Programme
                ขั้นพื้นฐานในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖   for International Student Assessment: PISA) ซึ่งด�าเนินการโดยองค์การ
                มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖    ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic
                ใน ๕ กลุ่มสาระ คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ   Co-operation and Development : OECD) ได้ผลการประเมิน PISA ของ
                คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา   นักเรียนอายุ ๑๕ ปี ด้านความเข้าใจในการอ่าน (Reading Literacy) ความเข้าใจ
                ศาสนาและวัฒนธรรม พบว่า ยังไม่เป็นที่  การค�านวณ (Mathmatics Literacy) และความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
                น่าพอใจมากนัก ดังจะเห็นได้จากผลการ  (Scientific Literacy) รวม ๖๕ ประเทศ พบว่า ในปี ๒๕๕๕ เทียบกับปี ๒๕๕๒

                ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน  (O-NET)   นักเรียนในประเทศไทยแม้จะมีคะแนนสูงขึ้นในทุกวิชา แต่ยังต�่ากว่าค่าเฉลี่ย
                ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ   ของกลุ่มประเทศที่เข้าร่วมทดสอบ โดยคะแนนการอ่าน อยู่ในอันดับที่ ๔๘
                (สทศ.) (องค์การมหาชน) เนื่องจากโดย  ด้านวิทยาศาสตร์อยู่อันดับที่ ๔๗ และด้านคณิตศาสตร์อยู่อันดับที่ ๕๐  ๑๒๐
                ส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยต�่ากว่าร้อยละ ๕๐







              ๑๑๙   ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, สถิติการศึกษาของประเทศไทยปีการศึกษา ๒๕๕๖-๒๕๕๗, บทสรุปผู้บริหาร
              ๑๒๐   โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละระดับการศึกษา จ�าแนกได้เป็น (๑) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ผลการทดสอบ O-NET ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละในแต่ละกลุ่มสาระ
              การเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ อยู่ระหว่าง ๔๐.๓๑-๔๙.๓๓๓ มีค่าเฉลี่ยเกือบทุกวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา ๒๕๕๗ (๒) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผลการทดสอบ O-NET
              ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ คะแนนเฉลี่ยร้อยละในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ อยู่ระหว่าง ๓๐.๖๒-๔๖.๒๔ โดยส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา ๒๕๕๗
              และ (๓) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ผลการทดสอบ O-NET ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ คะแนนเฉลี่ยร้อยละในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ อยู่ระหว่าง ๒๔.๙๘ -๔๙.๓๖
              โดยมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา ๒๕๕๗ เกือบทุกวิชา

                                                                                                           84
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119