Page 109 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 109
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
๓.๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน และป่าไม้
ในช่วงปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ พบว่า มีชุมชนจ�านวนมากที่ได้รับ
ผลกระทบจากค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน
๒๕๕๗ เรื่อง “การปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกท�าลาย
ทรัพยากรป่าไม้” และค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๖/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๗
มิถุนายน ๒๕๕๗ เรื่อง “เพิ่มเติมหน่วยงานส�าหรับการปราบปราม
หยุดยั้งการบุกรุกท�าลายทรัพยากรป่าไม้ และนโยบายการปฏิบัติงาน
เป็นการชั่วคราวในสภาวการณ์ปัจจุบัน เพื่อปราบปรามและหยุดยั้ง
การบุกรุกท�าลายทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ” ซึ่งผลจากค�าสั่งดังกล่าวได้น�าไปสู่การที่เจ้าหน้าที่รัฐ
เข้าไปด�าเนินการขับไล่ บุกยึด และรื้อท�าลายทรัพย์สินของประชาชน ก็เปลี่ยนแปลงไปตามนโยบายของรัฐบาลแต่ละช่วง ท�าให้ประชาชน
ที่อยู่อาศัยและท�ากินในพื้นที่ป่า โดยการด�าเนินการของเจ้าหน้าที่ ผู้เคยถือครองท�าประโยชน์ที่ดินมาก่อน ซึ่งส่วนใหญ่ที่เป็นผู้ยากไร้
รัฐดังกล่าวเน้นการบรรลุเป้าหมายเป็นส�าคัญ และในส่วนหนึ่ง ไม่มีที่ดินท�ากิน ถูกข่มขู่ บังคับ จับกุม ไล่รื้อที่อยู่อาศัยและท�าลาย
ยังขาดกระบวนการและขั้นตอนการด�าเนินงานที่ใช้ความรอบคอบ ที่ท�ากิน ซึ่งขัดกับลักษณะเงื่อนไขตามค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๖/๒๕๕๗
และระมัดระวังมากพอ อาทิ มีการใช้หลักเกณฑ์ในการทวงผืนป่า ข้อ ๒.๑ ที่ก�าหนดว่า “การด�าเนินการ ใด ๆ ต้องไม่ส่งผลกระทบ
โดยใช้แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเป็นเกณฑ์ส�าคัญในการตรวจสอบ ต่อประชาชนผู้ยากไร้ ผู้ที่มีรายได้น้อย และผู้ไร้ที่ดินท�ากิน ซึ่งได้
โดยไม่ให้ความส�าคัญกับการพิจารณาข้อมูลประกอบอื่น ๆ เช่น อาศัยอยู่ในพื้นที่เดิมนั้นก่อนค�าสั่งนี้มีผลบังคับใช้ ยกเว้นผู้ที่บุกรุก
วัตถุพยาน พยานบุคคล หลักฐานทางราชการและประวัติศาสตร์ ใหม่ จะต้องด�าเนินการสอบสวนและพิสูจน์ทราบ เพื่อก�าหนดวิธี
ประกอบการพิจารณา ในขณะที่ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปฏิบัติที่เหมาะสมและด�าเนินการตามขั้นตอนต่อไป”
โดยตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ ถึง ๒๕๕๘ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีที่ผู้ได้รับผลกระทบจากค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๔ และ ๖๖/๒๕๕๗
โดยจ�าแนกการร้องเรียนได้ ๖ ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะที่ ข้อกล่าวหา/การกระท�าที่ละเมิด หรือกระทบต่อสิทธิมนุษยชน
๑ การบังคับให้อพยพโยกย้าย โดยไม่ได้มีการจัดพื้นที่รองรับไว้ล่วงหน้า หรือรื้อถอน ท�าลาย บ้านเรือน ทรัพย์สิน
พืชผล และบังคับให้ออกจากพื้นที่
๒ การท�าลายพืชผลอาสิน และห้ามเข้าท�ากิน
๓ การยึดพื้นที่ และห้ามเข้าท�ากิน หรือถูกให้ออกจากพื้นที่
๔ การติดประกาศให้ชาวบ้านรื้อถอนพืชผล สิ่งปลูกสร้าง หรือค�าสั่งห้ามมิให้ประชาชนเก็บเกี่ยวผลผลิตจากพืชผล
ทางเกษตรที่ปลูกไว้ในพื้นที่ บังคับให้ประชาชนออกไปจากพื้นที่ หรือห้ามท�ากิน
๕ การจับกุมด�าเนินคดีและคุมขังชาวบ้าน ตัดฟันพืชผล สั่งห้ามไม่ให้เก็บเกี่ยวผลผลิต รื้อถอนบ้านพักอาศัย และ
ให้ออกจากพื้นที่
๖ การข่มขู่บังคับด้วยวาจาหรือก�าลังอาวุธ หรือการบังคับให้ลงลายมือชื่อยินยอมออกไปจากที่ดินท�ากิน
๑๑๓
โดยในเรื่องดังกล่าวนอกจาก กสม. จะได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีตามค�าร้อง และมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายไปยังคณะรัฐมนตรี ผู้อ�านวยการ
กองอ�านวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ
ประจ�ากติกา ICESCR ยังได้มีข้อสังเกตเชิงสรุปต่อรายงานฉบับที่ ๑ และ ๒ ของประเทศไทยตามกติกา ICESCR (E/C.12/THA/CO/1-2) ในการ
ประชุมครั้งที่ ๒๘-๓๐ (E/C.12/2015/SR.28, 29 และ 30) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๔ - ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ โดยได้รับรองรายงานในการประชุม
สมัยที่ ๕๐ เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ ในประเด็นที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ สรุปได้ว่า คณะกรรมการฯ มีข้อกังวลเกี่ยวกับการปฏิบัติ
๑๑๓ รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๖๘๓-๗๒๔/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เรื่อง สิทธิในการจัดการที่ดินและป่า กรณีประชาชนร้องเรียนการด�าเนินการของเจ้าหน้าที่รัฐ อ้างค�าสั่ง
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๖๔/๒๕๕๗ และฉบับที่ ๖๖/๒๕๕๗ ก่อให้เกิดปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
79