Page 112 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 112

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘





              ๔.๔   การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ

              นโยบายเร่งรัดกระบวนการจัดหาพื้นที่ส�าหรับจัดท�าเขตเศรษฐกิจพิเศษตามค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๑๗/๒๕๕๘ ส่งผลให้การด�าเนินการ
              ดังกล่าวขาดความรอบคอบและขาดการค�านึงถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ในกระบวนการคัดเลือกพื้นที่ โดยหลายพื้นที่ที่รัฐ
              เลือกให้เป็นเขตเศรษฐกิจฯ เช่น พื้นที่ป่าสงวน พื้นที่สาธารณประโยชน์ ขัดกับวัตถุประสงค์เดิมในการใช้ประโยชน์พื้นที่เหล่านั้น อีกทั้งรัฐ
              ยังไม่สามารถด�าเนินการชดเชยค่าเวนคืนที่ดินได้อย่างเหมาะสมกับความเป็นจริง

























              ดังนั้น เพื่อให้การด�าเนินการของรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนท�าให้การ บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
              ด�าเนินการตามแนวนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐสัมฤทธิ์ผลและเกิดการยอมรับทุกฝ่าย กสม. จึงมีข้อเสนอแนะต่อรัฐ ดังนี้


              (๑)  ในการด�าเนินนโยบายสาธารณะใด ๆ รัฐควรพิจารณาสมดุล  (๔)  รัฐควรทบทวนวิธีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
              ระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนที่อาจ  และสิ่งแวดล้อมของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการจัดการทรัพยากร
              ถูกจ�ากัด อย่างรอบคอบ โดยค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน ทั้งในการ  ป่าไม้ ที่ดิน เเหล่งน�้า จากการบริหารจัดการแบบศูนย์รวมอ�านาจ
              ก�าหนดนโยบาย ตลอดจนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่     การตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลาง เป็นการกระจายอ�านาจสู่องค์กร

              (๒)  ในการออกค�าสั่งโดยอาศัยตามมาตรา ๔๔ แห่งรัฐธรรมนูญ  ปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมากขึ้น  เพื่อให้การพัฒนา
              แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ รัฐบาล  ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการให้ประชาชนมีส่วนในการก�าหนด
              ควรค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนซึ่งได้รับการรับรองและคุ้มครอง  เจตจ�านงของตนซึ่งเป็นหลักการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
              ตามกฎหมายระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคี และตาม  ที่ไทยเป็นภาคี
              รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช   (๕)  รัฐควรให้ความเคารพต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งการ
              ๒๕๕๗ อันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ                  ส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

              (๓)  รัฐควรทบทวนนโยบายข้อผ่อนปรนระเบียบหรือข้อกฎหมาย   (๖)  รัฐควรให้ความส�าคัญกับการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจด�าเนิน
              ที่อาจส่งผลกระทบต่อประชาชน และสมควรเพิ่มมาตรการ    ธุรกิจที่ยั่งยืน (Sustainable Business) โดยค�านึงถึงชุมชน
              ที่เป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนและชุมชนให้มากขึ้น    ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมทั้งควรก�าหนดให้กรอบการก�ากับดูแล
              โดยสมควรก�าหนดให้โครงการที่อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อชุมชน  การด�าเนินการของภาคเอกชน โดยเฉพาะบรรษัทข้ามชาติ
              อย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ   ที่เข้ามาลงทุนประกอบกิจการในประเทศให้มีการด�าเนินการ
              และสุขภาพ ต้องมีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์   ให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน  และก�าหนดมาตรการ
              (Strategic Environmental Assessment)               การลงโทษหากภาคเอกชนดังกล่าวไม่ปฏิบัติตาม และ

                                                                 (๗)  รัฐควรรวบรวม ประมวล และประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ
                                                                 ที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการที่ผ่านมา เพื่อใช้เป็นแนวทาง
                                                                 ในการป้องกันและเเก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


                                                                                                           82
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117