Page 115 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 115
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
๒. ความสามารถในการคิดของผู้เรียน ๓. ความสามารถในการอ่าน เขียนและค�านวณ ของประชากรอายุ ๖ ปีขึ้นไป
(General Aptitude Test : GAT) จากการส�ารวจของส�านักงานสถิติแห่งชาติ ในรายงานการติดตามและประเมิน
พบว่าความสามารถในคิดวิเคราะห์ ผลการจัดการศึกษาตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ปี ๒๕๕๖ พบว่า
คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และความ ในปี ๒๕๕๖ ประชากรอายุ ๖ ปีขึ้นไป จ�านวน ๖๒.๑ ล้านคน เป็นผู้ที่สามารถ
สามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรียนระดับ อ่านหนังสือออก ร้อยละ ๙๔.๘ สามารถเขียนหนังสือได้ร้อยละ ๙๔.๑ สามารถ
การศึกษาขั้นพื้นฐานค่อนข้างดีพอสมควร ค�านวณได้ร้อยละ ๙๓.๘ และเป็นผู้ที่มีความสามารถทั้ง ๓ ด้าน คือ การอ่าน
เมื่อพิจารณาจากผลการสอบวัดความถนัด เขียน และค�านวณ มีร้อยละ ๙๑.๑ โดยกลุ่มเยาวชน (อายุระหว่าง ๑๕-๒๔ ปี)
ทั่วไป (GAT) ของ สทศ. ซึ่งทดสอบผู้เรียน มีความสามารถอ่าน เขียน และค�านวณได้มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๘๒
ที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เพื่อวัดศักยภาพ รองลงมา คือ กลุ่มวัยท�างาน (อายุระหว่าง ๒๕-๒๙ ปี) คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๐
ในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความ และกลุ่มวัยเด็ก (อายุระหว่าง ๖-๑๔ ปี) คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๑ ส่วนกลุ่มวัยสูงอายุ
๑๒๑
ส�าเร็จ แต่เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา พบว่า (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) อยู่ที่ร้อยละ ๗๑.๓
มีคะแนนลดลง
๓ สถานการณ์ปี ๒๕๕๘
ในปี ๒๕๕๘ สถานการณ์สิทธิทางการศึกษาในประเทศไทย ในเรื่องความเหลื่อมล�้าและโอกาสในการเข้าถึงสิทธิในการศึกษา และประสิทธิภาพ
ในการจัดการการศึกษา พบว่า
๓.๑ ความเหลื่อมล�้าและโอกาสในการเข้าถึงสิทธิในการศึกษา ซึ่งมีประเด็นความเหลื่อมล�้าทางการศึกษา ๒ ส่วนส�าคัญ คือ โอกาสทางการ
ศึกษา และการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
๑. โอกาสทางการศึกษา แสดงให้เห็นโดยข้อมูลเกี่ยวกับเด็กที่ไม่ได้รับการศึกษา จากการส�ารวจในปี ๒๕๕๖ ในกลุ่มเด็กนักเรียนและนักศึกษา
อายุ ๓-๑๗ ปี พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุดังกล่าวซึ่งยังอยู่ในวัยเรียนยังขาดโอกาสในการศึกษาทั้งสิ้นประมาณ ๔.๘๙ ล้านคน
โดยจ�าแนกออกเป็น ๑๑ กลุ่มย่อย และจ�านวนในแต่ละกลุ่ม ดังนี้
๑๒๑ แยกได้ ๒ ส่วน คือ ความสามารถในการอ่าน เขียนคิดวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหา (GAT1) และความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (GE2) โดยพบว่า ในการสอบวัดครั้งที่
๑/๒๕๕๘ เดือนมีนาคม ๒๕๕๘ คะแนนเฉลี่ย GAT1 ได้เกินครึ่ง (๘๒.๒๒ คนแนน จากคะแนนเต็ม ๑๕๐ คะแนน) คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๓๓.๒๗ แต่มื่อเทียบกับปีการศึกษา ๒๕๕๗ ในการ
ทดสอบครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ พบว่า มีคะแนนลดลงทั้งสองส่วน
85