Page 116 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 116

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



                                        กลุ่มที่                           จ�านวน (คน)            ร้อยละ
                (๑) เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงาน                                    ๑๑๔              ๐.๐๐
                (๒) เด็กในธุรกิจทางเพศ                                            ๖๑              ๐.๐๐
                (๓) เด็กถูกทอดทิ้ง                                            ๑๔,๕๖๓              ๐.๓๐
                (๔) เด็กในสถานพินิจ                                              ๔๕๕              ๐.๐๑
                (๕) เด็กเร่ร่อน                                                ๑,๓๖๓              ๐.๐๓
                (๖) เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อ HIV/AIDS                      ๒,๒๘๖              ๐.๐๕
                (๗) เด็กชาติพันธุ์ และชนพื้นเมือง                             ๒๙,๒๕๒              ๐.๖๐
                (๘) เด็กที่ถูกท�าร้าย                                          ๒,๐๘๑              ๐.๐๔
                (๙) เด็กที่ใช้สารเสพติด                                        ๑,๓๐๖              ๐.๐๓
                (๑๐) เด็กพิการ                                              ๒๕๕,๓๗๕               ๕.๒๒
                (๑๑) เด็กที่เผชิญปัญหาความยากจน หรือเด็กที่อยู่ในครอบครัว  ๔,๕๘๕,๒๐๗             ๙๓.๗๓
                       ที่มีรายได้ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ต่อปี

                                                        รวม                ๔,๘๙๒,๐๖๓               ๑๐๐


              จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อยเป็นปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้เด็กขาดโอกาสในการศึกษาหรือหลุดออกจาก  บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

              ระบบการศึกษา ซึ่งจากข้อมูลพบว่าเด็กที่ยากจนมีอัตราส่วนประมาณร้อยละ ๙๓.๗๓ ของนักเรียนที่ไม่ได้เข้าเรียน ๔.๕๘ ล้านคน
              จาก ๔.๘๙ ล้านคน เมื่อพิจารณาปีการศึกษาเฉลี่ยจ�าแนกตามภูมิภาค พบว่า ประชากรในกรุงเทพฯ มีปีการศึกษาเฉลี่ยสูงที่สุด
              ในทุกกลุ่มอายุ เช่น กลุ่มวัยแรงงาน (อายุระหว่าง ๑๕-๕๙ ปี) เท่ากับ  ๑๑.๙ ปี ส่วนกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เท่ากับ ๗.๕ ปี รองลงมาคือภาคกลาง
              กลุ่มวัยแรงงาน เท่ากับ ๙.๑ ปี และกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เท่ากับ ๔.๙ ปี ส่วนภาคที่มีปีการศึกษาเฉลี่ยน้อยที่สุดทั้ง ๒ กลุ่มอายุ
              คือ ภาคเหนือ โดยกลุ่มวัยแรงงาน เท่ากับ ๘.๓ ปี และกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปเท่ากับ ๔.๔ ปี ซึ่งเท่ากับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ



              ๒. การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ

                มีตัวชี้วัด ๓ ตัว ซึ่งจ�าแนกข้อมูลตามภูมิภาค   ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของส�านักงานรับรองมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา
                ได้แก่ คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ O-Net    (สมศ.) ตามตัวบ่งชี้ด้านคุณภาพของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาในกรุงเทพมหานคร
                อัตราส่วนสถานศึกษาที่มีคุณภาพ  และ  มีระดับคุณภาพดี/ดีมาก มีร้อยละสูงสุด คิดเป็น ๙๘.๘๒ รองลงมา คือ ภาคกลาง
                ตัวบ่งชี้ด้านผู้เรียน  โดยคะแนนผลการ  คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๖๙ ภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๓๖ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                ทดสอบ O-Net ในปีการศึกษา ๒๕๕๘      ซึ่งมีจ�านวนต�่าที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  ๙๖.๗๔  ในขณะที่ตัวบ่งชี้ด้านผู้เรียน
                ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓    ที่มีความสามารถในการคิดและท�าเป็น  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

                และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ พบว่า กรุงเทพมหานคร  คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ และความ
                มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดทุกวิชา  ส่วนภาค   สามารถในการแก้ปัญหา เมื่อจ�าแนกตามภาค พบว่า ผู้ที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร
                ตะวันออกเฉียงเหนือ มีคะแนนเฉลี่ยต�่าสุด   มีความสามารถทั้ง ๓ ด้าน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๑ รองลงมา คือ ผู้ที่อยู่ใน
                ทุกวิชา  ในขณะที่การประเมินคุณภาพ  ภาคกลาง คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๙ ภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๒ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                ภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔–๒๕๕๘)      คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๕ และภาคเหนือ คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๖
















                                                                                                           86
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121