Page 107 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 107

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘



        อย่างไรก็ดี  ยังมีประเด็นปัญหาส�าคัญซึ่งเป็นผลมาจากมติ
        ที่ประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘
        เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ และประกาศกระทรวงทรัพยากร
        และสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ยกเว้นให้โครงการโรงไฟฟ้า
        ขยะมูลฝอยทุกขนาดก�าลังการผลิตไม่ต้องจัดท�ารายงาน EIA
        จากเดิมก�าหนดให้ก�าลังการผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ ๑๐ เมกะวัตต์ขึ้นไป
        ต้องจัดท�ารายงาน EIA โดยให้ด�าเนินการตามประมวลหลักการ
        ปฏิบัติ (Code of Practice: CoP) แทน ซึ่งในเรื่องนี้ นักวิชาการ
        เครือข่ายภาคประชาชน และเครือข่ายภาคประชาสังคม ได้ให้
        ความเห็นว่า การก�าหนดให้โครงการโรงไฟฟ้าขยะมูลฝอยด�าเนิน
        การตามประมวลหลักการปฏิบัติ (CoP) ไม่สามารถทดแทน
        การท�ารายงาน EIA ได้ ด้วยเหตุที่ CoP นั้น เป็นเพียงคู่มือตรวจ
        สอบรายการสิ่งแวดล้อม (Environmental Checklist) ที่เป็น
        รายการที่โครงการต้องปฏิบัติตามและท�าการติดตามตรวจสอบ       ๓.๒   เหมืองแร่
        เท่านั้น และ CoP ไม่ได้ถูกก�าหนดมาให้ผ่านการพิจารณาเชิง
        วิชาการด้านสิ่งแวดล้อมจากคณะกรรมการผู้ช�านาญการ (คชก.)     ในปี ๒๕๕๘ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
        อีกทั้งกระบวนการปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ  (กพร.) ได้ออกประกาศนโยบายการส�ารวจและท�าเหมือง
        ขยะของกระทรวงฯ ไม่มีการชี้แจงเหตุผลและรับฟังความคิดเห็น    แร่ทองค�าในพื้นที่ ๑๒ จังหวัด ได้แก่ พิจิตร พิษณุโลก
        อย่างเพียงพอ จึงไม่เป็นไปตามหลักการของรัฐธรรมนูญและ        ลพบุรี เลย สตูล สระแก้ว สุราษฎร์ธานี จันทบุรี ระยอง
                       ๑๐๖
        กฎหมายสิ่งแวดล้อม   ซึ่งประเด็นนี้ได้ขยายวงกว้างออกไปจน    สระบุรี นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ เพื่อเตรียมขยายพื้นที่
        กระทั่งมีการรวมตัวกันฟ้องร้องเป็นคดีต่อศาลเพื่อขอให้เพิกถอน  ให้เอกชนเข้าส�ารวจ ท�าให้เกิดการคัดค้านจากประชาชน
        ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมติคณะ      ในพื้นที่อย่างมาก เนื่องจากตลอดระยะเวลาหลายสิบปี
        กรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติดังกล่าว
                                                                   ที่ผ่านมา  ประเทศไทยประสบปัญหาจากนโยบายการท�า
                                                                   เหมืองแร่มาอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มที่จะทวีความ
                                                                   รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยจากสถิติข้อมูลเรื่องร้อง
                                                                   เรียนที่มีมายัง กสม. พบว่า มีปัญหาหลัก ใน ๕ ด้าน ๑๐๗
                                                                   ได้แก่ (๑) กรณีการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน

                                                                   ในกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายเกี่ยวกับโครงการ
                                                                   ท�าเหมืองแร่ขนาดใหญ่ (๒) กรณีการพิจารณาอนุมัติ
                                                                   อนุญาตของหน่วยงานรัฐ (๓) กรณีการได้รับผลกระทบ
                                                                   จากกิจการการท�าเหมืองแร่ ซึ่งได้รับสัมปทานจาก
                                                                   หน่วยงานรัฐไปแล้ว (๔) กรณีการฟื้นฟูเหมือง รวมถึง
                                                                   การแย่งสิทธิในพื้นที่หลังการท�าเหมือง (๕) กรณี
                                                                   การข่มขู่ คุกคามอันเป็นผลจากการคัดค้านการท�าเหมืองแร่
                                                                   โดยในภาพรวมของประเทศพบว่า มีผลกระทบที่เกิดขึ้น
                                                                   จากการประกอบกิจการเหมืองแร่ของเอกชน ดังนี้










        ๑๐๖   งานเสวนา “ยกเว้น EIA โรงไฟฟ้าขยะ: วิกฤตสิ่งแวดล้อมใหม่ของสังคมไทย” โดยมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ และเครือข่ายประชาชนศึกษาและติดตามปัญหาขยะ
        เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม
        ๑๐๗   นายประทีป มีคติธรรม เลขานุการกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, เมษายน ๒๕๕๙

         77
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112