Page 105 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 105
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
๒ สถานการณ์ทั่วไป
สถานการณ์ปัญหาด้านสิทธิชุมชนที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มักเป็น มาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๒๖ ปี ซึ่งโครงการดังกล่าว
ผลมาจากนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐที่มุ่งเน้นการขยายตัว ส่งผลกระทบทั้งต่อสุขภาพของประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่
ตามแนวของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม มุ่งเน้นการเจริญเติบโต รวมถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนที่มีมาแต่เดิม จนท�าให้เกิด
๑๐๕
ทางเศรษฐกิจ แต่ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล�้าในด้านต่าง ๆ ทั้งทาง ปัญหาทางสังคมต่าง ๆ กรณีกิจการเหมืองแร่ทองค�าในจังหวัด
เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนการเข้าถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เลย และกรณีโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่ของภาคใต้ เป็นต้น
เทคโนโลยี และวัฒนธรรม ส่วนหนึ่งของปัญหามาจากการที่รัฐ จนเกิดปรากฏการณ์ของกระบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิชุมชน
จัดให้มีแผนงานโครงการขนาดใหญ่โดยด�าเนินการแบบรวมศูนย์ ขึ้นในหลายรูปแบบ เช่น การยื่นข้อร้องเรียนต่อหน่วยงานรัฐ
ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ขาดความเข้าใจใน การออกแถลงการณ์ทั้งในนามของชุมชนหรือร่วมกับนักวิชาการ
บริบทของชุมชน ตลอดจนการค�านึงถึงผลกระทบด้านต่าง ๆ ที่อาจ และเครือข่ายภาคประชาสังคม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการเรียกร้อง
เกิดขึ้นต่อชุมชน เช่น ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อาชีพท�ากิน สิทธิตามที่กฎหมายให้การรับรอง ไปจนถึงการรวมตัวกันฟ้องร้อง
ของคนในพื้นที่ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น กรณีโครงการนิคมอุตสาหกรรม ด�าเนินคดีต่อหน่วยงานรัฐและ/หรือผู้ประกอบการ เพื่อให้องค์กร
มาบตาพุด จังหวัดระยอง ที่เริ่มก่อตั้งในปี ๒๕๓๒ และด�าเนินการ ฝ่ายตุลาการพิพากษาชี้ขาดกรณีปัญหาข้อพิพาทที่เกิดขึ้น
๓ สถานการณ์ปี ๒๕๕๘
ในขณะที่รัฐด�าเนินนโยบายสาธารณะต่าง ๆ โดยมุ่งหวังให้มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แต่ในความเป็นจริงประชาชนกลับประสบปัญหา
ผลกระทบจากการด�าเนินนโยบายดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และ
การประกอบอาชีพ ซึ่งสถานการณ์ด้านสิทธิชุมชนตลอดปี ๒๕๕๘ ก็มีสภาพปัญหาที่คล้ายคลึงกับปีที่ผ่านมา หากแต่ทวีความรุนแรงขึ้นจนเกิด
เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนและชุมชน ตลอดจนเกิดคู่ขัดแย้งใหม่ ระหว่างประชาชนฝ่ายสนับสนุนกับประชาชนฝ่ายคัดค้าน ซึ่ง
สถานการณ์ด้านสิทธิชุมชนในปี ๒๕๕๘ มีประเด็นส�าคัญที่เกิดขึ้นครอบคลุมการบริหารจัดการพลังงาน (โรงไฟฟ้าชีวมวล และโรงไฟฟ้าขยะ)
เหมืองแร่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และนโยบายการบริหารจัดการ และการดูแลทรัพยากรป่าไม้ โดยในปี ๒๕๕๗ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนว่า
มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือมีการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม หรือเป็นเรื่องที่ กสม.เห็นสมควรให้มีการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนจ�านวน
ทั้งสิ้น ๖๘๙ เรื่อง เป็นเรื่องสิทธิชุมชน ๘๗ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๖๓ เป็นล�าดับที่สองของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด และในปี ๒๕๕๘ มีจ�านวน
ทั้งสิ้น ๖๕๔ เรื่อง เป็นเรื่องสิทธิชุมชน ๘๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๖๙ เป็นล�าดับที่สามของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด โดยในปี ๒๕๕๘
มีสถานการณ์ส�าคัญ ดังนี้
๓.๑ การบริหารจัดการพลังงาน
รัฐมีนโยบายในการผลักดันให้ชุมชนหรือเอกชนลงทุนท�าโรงไฟฟ้า
ชีวมวลเพิ่มเติม โดยใช้เป็นทางเลือกในการผลิตพลังงานทดแทน
เพราะมีต้นทุนด้านวัตถุดิบที่น�ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต
กระแสไฟฟ้าไม่มากนัก ในขณะที่ผลิตก๊าซหรือมลพิษน้อยกว่า
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน แต่หากไม่สามารถจัดการกับปริมาณ
ก๊าซเสียที่ออกมาจากโรงงานได้ก็อาจท�าให้เกิดมลพิษ เช่น ฝุ่น
ผงเถ้า และถ่านได้ โดยข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงานเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ ระบุว่า ประเทศไทย
มีก�าลังการผลิตรวม ๗๗๙ เมกะวัตต์ แบ่งตามพื้นที่ ดังนี้
๑๐๕ นิตยา โพธิ์นอก (๒๕๕๗), ชุมชนกับสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า
75