Page 47 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 47
บทที่ ๒
๑.๔ การยึดครองหรือท�าลายหมู่บ้าน
ผู้ให้สัมภำษณ์ ๗ คนจำกจ�ำนวนทั้งหมด ๖๗ คน (ร้อยละ ๑๐.๔๔) กล่ำวถึงประสบกำรณ์ที่หมู่บ้ำนที่พวกเขำ
เคยอยู่อำศัยถูกท�ำลำยหรือถูกยึดครองโดยกองก�ำลัง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกองก�ำลังทหำรของกองทัพพม่ำ หมู่บ้ำนส่วนใหญ่ที่ถูกท�ำลำยหรือ
ถูกยึดครองนั้นมักเป็นหมู่บ้ำนในเขตชนบทที่ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ที่ยังมีกำรปะทะกันอยู่ระหว่ำงกลุ่มกองก�ำลัง KNU และกองทัพพม่ำ
ที่ต่ำงฝ่ำยต่ำงต้องกำรมีอ�ำนำจในพื้นที่นั้นและก�ำจัดอิทธิพลของกองก�ำลังอื่นออกไปจำกพื้นที่ หมู่บ้ำนจึงกลำยเป็นพื้นที่แสดงอ�ำนำจ
ของกองก�ำลัง โดยหำกหมู่บ้ำนเหล่ำนั้นถูกรับรู้ว่ำกลำยเป็นพื้นที่อิทธิพลของกองก�ำลังใดกองก�ำลังหนึ่งก็จะตกอยู่ในควำมเสี่ยงของ
กำรถูกท�ำลำยโดยอีกกองก�ำลังหนึ่ง เช่น กรณีอิสมำอิล หมู่บ้ำน Nabu ที่กล่ำวมำแล้ว เป็นต้น
กระนั้นก็ดีในบำงเรื่องเล่ำ หมู่บ้ำนเดิมของชำวบ้ำนก็ถูกยึดครองด้วยเหตุผลอื่น เช่น นโยบำยของทำงกำร เป็นต้น
ตัวอย่ำงของนำซิม ชำวโรฮิงญำที่ถูกบังคับย้ำยออกจำกหมู่บ้ำนของตัวเอง เขำเป็นชำยชำวโรฮิงญำนับถือศำสนำอิสลำม อำยุ ๓๙ ปี
ได้เข้ำมำพักอำศัยค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เดิมอยู่หมู่บ้ำนชื่อ San Pya Yet ซึ่งตั้งอยู่ในเมือง Sitwe รัฐอำระกัน ในปี
พ.ศ. ๒๕๓๑ รัฐบำลทหำรของนำยพลเนวินได้ส่งกองก�ำลังเข้ำมำยึดครองหมู่บ้ำน และออกค�ำสั่งให้ชำวบ้ำนทั้งหมดอพยพไปยังหมู่บ้ำน
แห่งใหม่ ซึ่งต้องใช้เวลำเดินเท้ำ ๒ วัน ครอบครัวของเขำอำศัยอยู่ที่หมู่บ้ำนใหม่นี้ประมำณ ๒ ปี ก็จ�ำเป็นต้องย้ำยไปอยู่ที่อื่นเนื่องจำก
ไม่สำมำรถประกอบอำชีพในหมู่บ้ำนนี้ได้
จำกเรื่องเล่ำของผู้ให้สัมภำษณ์ ในบำงกรณีชำวบ้ำนทั้งหมดจะถูกออกค�ำสั่งให้ย้ำยออกจำกหมู่บ้ำนภำยใน
ช่วงระยะเวลำที่จ�ำกัด เช่นเรื่องเล่ำของอับดุลอำลี เขำนับถือศำสนำอิสลำม อำยุ ๕๒ ปี ได้เข้ำมำพักพิงในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๓ เขำเกิดที่หมู่บ้ำน Nabu อ�ำเภอ Kaw Ka Reit รัฐกะเหรี่ยง ตั้งแต่เขำเริ่มจ�ำควำมได้ตอนอำยุ ๑๐ ขวบ จนกระทั่งเขำอำยุ
๓๐ ปี หมู่บ้ำนนำบูถูกเผำท�ำลำยบ่อยมำก ไม่ต�่ำกว่ำ ๓๐ ครั้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ทหำรพม่ำได้ออกค�ำสั่งให้ชำวบ้ำนย้ำยออกจำก
หมู่บ้ำนภำยใน ๓ วัน กำรต้องย้ำยออกอย่ำงฉับพลัน ท�ำให้ครอบครัวของเขำไม่มีเวลำเตรียมตัวเตรียมใจเลย เช่น เก็บข้ำวของหรือ
ต้อนปศุสัตว์ เป็นต้น
ขณะที่เรื่องเล่ำส่วนใหญ่ กลุ่มกองก�ำลังจะเข้ำมำเผำท�ำลำยหรือยิงอำวุธหนักถล่มใส่หมู่บ้ำน ท�ำให้ชำวบ้ำน
ไม่สำมำรถที่จะอยู่อำศัยในพื้นที่และต้องหลบหนีไปยังพื้นที่ปลอดภัยอื่นๆ เช่น ป่ำหรือหมู่บ้ำนใกล้เคียง เป็นต้น บ่อยครั้งกำรเผำหรือ
กำรท�ำลำยหมู่บ้ำนเกิดขึ้นซ�้ำหลำยครั้ง จนเมื่อถึงจุดหนึ่ง ชำวบ้ำนบำงคนก็ไม่สำมำรถที่จะอยู่อำศัยในพื้นที่เดิมได้อีกต่อไป และต้อง
เดินทำงออกจำกหมู่บ้ำนมำ เช่น กรณีของซำฮิด ชำวกะเหรี่ยงผู้นับถือศำสนำอิสลำม อำยุ ๔๖ ปี เขำเดินทำงเข้ำมำอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัย
บ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ เขำเติบโตในหมู่บ้ำนนำบู ได้พบเห็นกำรสู้รบเกิดในหมู่บ้ำนตั้งแต่ยังเป็นเด็กนักเรียนอำยุประมำณ ๑๓-๑๔ ปี
ตอนนั้นมีเด็กคนหนึ่งถูกยิงเสียชีวิตต่อหน้ำต่อตำของเขำ กระนั้นครอบครัวของซำฮิดก็ยังคงพักอำศัยอยู่ในหมู่บ้ำนต่อไป จนกระทั่งวันหนึ่ง
สงครำมเกิดขึ้นในหมู่บ้ำนอีกครั้ง เนื่องจำกทหำรพม่ำสืบทรำบว่ำมีฐำนทัพของกองก�ำลัง KNU อยู่ใกล้หมู่บ้ำน ในสงครำมครั้งนั้น
ครอบครัวของอำเสียชีวิตจำกอำวุธหนักที่ทหำรพม่ำยิงมำตกใส่ ควำมตำยของครอบครัวอำท�ำให้ครอบครัวของเขำรู้สึกไม่ปลอดภัยที่
จะอยู่ในหมู่บ้ำนอีก พวกเขำจึงตัดสินใจย้ำยไปอยู่ที่หมู่บ้ำนอื่น
เมื่อหมู่บ้ำนที่ตนเองได้เกิดและเติบโตถูกท�ำลำยลงนั้น ส่งผลกระทบอย่ำงรุนแรงต่อสภำพจิตใจของผู้คน ผู้ให้
สัมภำษณ์บำงคนเกิดควำมรู้สึกสะเทือนใจ เมื่อระลึกถึงช่วงเวลำที่หมู่บ้ำนถูกท�ำลำย เช่น กำรที่อิสมำอิลมีอำกำรเสียงสั่น ตำแดงและ
หลั่งน�้ำตำจำกกำรระลึกทวนควำมทรงจ�ำที่หมู่บ้ำนถูกเผำและคนรู้จักถูกสังหำร เป็นต้น
หมู่บ้ำนไม่ใช่แค่พื้นที่ของสิ่งปลูกสร้ำง แต่เป็นพื้นที่ที่เครือข่ำยสำยสัมพันธ์ผูกพันผู้คนกับสมำชิกคนอื่นๆ และผู้คน
กับพื้นที่หมู่บ้ำนเป็นที่ตั้งของ “บ้ำน” พื้นที่ที่ชำวบ้ำนด�ำรงชีวิตตำมปกติของพวกเขำร่วมกับผู้คนที่พวกเขำผูกพัน หมู่บ้ำนจึงเป็นพื้นที่
ของควำมปกติสุขและควำมมั่นคงของชีวิต กำรท�ำลำยหมู่บ้ำนจึงไม่ใช่เพียงกำรท�ำลำยพื้นที่ทำงกำยภำพ แต่เป็นกำรท�ำลำยเครือข่ำย
สำยสัมพันธ์ที่ถักทอชีวิตปกติสุขของผู้คนลง ผู้ให้สัมภำษณ์บำงคนผ่ำนประสบกำรณ์ของกำรเห็นญำติมิตร คนรู้จักเสียชีวิตลงจำกกำร
ที่หมู่บ้ำนถูกโจมตี ช่วงเวลำนั้นเองที่เปลี่ยนแปลงโลกของผู้คนที่เคยด�ำเนินมำตลอด และท�ำให้เป็นแรงผลักดันให้ผู้คนต้องละจำกพื้นที่
แห่งนั้นมำ เพื่อแสวงหำพื้นที่แห่งใหม่ที่พวกเขำจะสำมำรถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่ำงปกติสุขอีกครั้ง
34 35
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว