Page 46 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 46
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพและการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
๑.๓ การบังคับใช้แรงงาน
ผู้ให้สัมภำษณ์ ๗ คนจำกจ�ำนวนผู้ให้สัมภำษณ์ทั้งสิ้น ๖๗ คน (คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๔) กล่ำวถึงประสบกำรณ์
ที่ถูกบังคับใช้แรงงำนโดยกองก�ำลังกองทัพพม่ำและกองก�ำลังของ DKBA ที่เข้ำร่วมกับทำงรัฐบำลแล้ว โดยมีควำมแตกต่ำงไปตำมพื้นที่
ที่พวกเขำอยู่อำศัย
ในพื้นที่เขตชนบทที่ยังมีกำรสู้รบและกำรปะทะอยู่ กองก�ำลังทหำรที่เข้ำไปในหมู่บ้ำนจะออกค�ำสั่งให้ชำวบ้ำน
จัดหำเสบียงอำหำร และสร้ำงที่อยู่อำศัยให้แก่กองก�ำลัง กำรวำงเวรยำมลำดตระเวนเฝ้ำระวังศัตรูให้กองก�ำลัง กำรก�ำจัดกับระเบิด
และสิ่งกีดขวำงทัศนียภำพ เป็นต้น ตัวอย่ำงเช่น เรื่องเล่ำของแมรี่ หญิงชำวกะเหรี่ยงสกอร์ อำยุ ๕๐ ปี เข้ำมำพักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัย
บ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เธอเติบโตในหมู่บ้ำน Moe Nying อ�ำเภอ Hliang Bwe รัฐกะเหรี่ยง เธอเล่ำว่ำ ระหว่ำงปี พ.ศ. ๒๕๒๖-
๒๕๒๘ ทหำรพม่ำได้มำประจ�ำอยู่ในหมู่บ้ำนและบังคับใช้แรงงำนชำวบ้ำนทั้งชำยและหญิง เช่น ให้ชำวบ้ำนตรวจตรำถนนและกู้ระเบิด
ที่ถูกวำงไว้ ชำวบ้ำนยังถูกสั่งให้สร้ำงรั้วและตัดกวำดกิ่งไม้และพุ่มไม้ที่ขวำงทัศนียภำพของทหำรในกำรมองเห็นศัตรู
ในพื้นที่เขตเมืองนั้นส่วนใหญ่จะไม่มีกำรสู้รบ ชำวบ้ำนมักจะถูกสั่งให้ท�ำงำนเพื่อกำรพัฒนำตำมแต่นโยบำยของ
กลุ่มกองก�ำลังที่ดูแลพื้นที่นั้นๆ เช่น กำรสร้ำงและดูแลถนน กำรขุดลอกท่อระบำยน�้ำ กำรวำงเวรยำมลำดตระเวน กำรท�ำนำรวม เป็นต้น
เช่น กรณีของหม่องวินและเรื่องเล่ำของเบธตี้
หม่องวินเป็นชำยชำวกะเหรี่ยงสกอร์ อำยุ ๕๘ ปี เขำเดินทำงเข้ำมำพักอำศัยในเดือนพฤษภำคม ๒๕๕๗ เนื่องจำก
กองก�ำลังทหำร DKBA บังคับใช้แรงงำนและยึดครองที่ท�ำกินของเขำ หม่องวินเกิดในหมู่บ้ำน Way Lay จังหวัดพะอัน รัฐกะเหรี่ยง แต่ได้
ย้ำยไปใช้ชีวิตอยู่ในหมู่บ้ำนของลุงเขำ ชื่อ Ka Gaw ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเมียวดี โดยท�ำนำและรับจ้ำง หมู่บ้ำนของเขำถูกจัดเป็นเขต
White Zone ที่กองก�ำลัง KNU ไม่มีอิทธิพลหรือมีน้อยมำก ทหำรพม่ำมักมำที่หมู่บ้ำนของเขำบ่อยและมักสั่งกำรให้ท�ำควำมสะอำด
ถนนและขุดลอกท่อระบำยน�้ำ จัดเวรยำมรอบหมู่บ้ำน เป็นต้น
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ทหำร DKBA ที่ร่วมกับทหำรพม่ำและกลำยเป็นกองก�ำลังป้องกันชำยแดน (Border Guard
Force: BGF) ได้ยึดที่นำของหม่องวินและชำวบ้ำนหลำยคนเพื่อน�ำไปสร้ำงถนนยำงมะตอยเชื่อมระหว่ำงหมู่บ้ำนของเขำกับหมู่บ้ำน
บริเวณชำยแดนไทย หม่องวินเล่ำว่ำ ถนนเส้นนี้ไม่ใช่เพิ่งสร้ำงแต่มีอยู่แล้วเป็นสิบปี แต่เป็นถนนสำยเล็กๆ โครงกำรขยำยถนนและ
รำดยำงมะตอยเกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ทหำรจำก BGF ได้ยึดที่ดินและออกค�ำสั่งให้ชำวบ้ำนมำสร้ำงถนนรำดยำงมะตอยบนที่ดินที่
เคยเป็นของพวกเขำเอง
เบธตี้เป็นหญิงชำวกะเหรี่ยงโปว์ตะวันตก อำยุ ๔๔ ปี เธอเข้ำมำอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๕๐
เบธตี้จบวิชำพยำบำลจำก The Institute of Nursing, Yangon หลังจบกำรศึกษำ เธอถูกส่งไปประจ�ำที่โรงพยำบำลต่ำงๆ ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๐ เบธตี้และครอบครัวไปประจ�ำอยู่ที่โรงพยำบำลในเมือง Ya Kyi ซึ่งตั้งอยู่ในเขตไอยำวดี เธอเล่ำถึงกำรถูกบังคับเกณฑ์แรงงำน
ว่ำ ในปีที่เธอมำประจ�ำที่โรงพยำบำลนี้รัฐบำลได้ออกนโยบำยให้ทุกครัวเรือนต้องปลูกพืชน�้ำมันชนิดหนึ่ง แต่เพรำะบ้ำนของเบธตี้เป็น
บ้ำนพักสวัสดิกำรของเจ้ำหน้ำที่พยำบำล ซึ่งไม่มีอำณำบริเวณมำกพอให้ปลูกพืชน�้ำมัน พวกเธอจึงไม่ต้องปลูกในบริเวณบ้ำน แต่กระนั้น
ครอบครัวของเบธตี้ก็ต้องออกไปช่วยปลูกพืชน�้ำมันนี้ในที่ดินรวมของชุมชนเช่นกัน
กำรบังคับใช้แรงงำนนั้นเกิดขึ้นทั้งในพื้นที่เขตชนบทและเขตเมือง ท�ำให้ลักษณะของกลุ่มประชำกรที่ได้รับ
ผลกระทบของกำรใช้แรงงำนนั้นมีระดับควำมหลำกหลำยที่กว้ำงกว่ำประชำกรของกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจำกกำรถูกเกณฑ์ไปเป็น
ลูกหำบ ประชำกรของกลุ่มที่ถูกบังคับเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบนั้นส่วนใหญ่เป็นประชำกรที่อยู่อำศัยในเขตชนบท อำชีพส่วนใหญ่ท�ำเกษตร
และรับจ้ำง ขณะที่ประชำกรของกลุ่มที่ถูกบังคับใช้แรงงำนนั้นเกิดขึ้นทั้งในเมืองและในชนบท ประชำกรมีลักษณะของกลุ่มอำชีพที่หลำกหลำย
เช่น ครู พยำบำล พ่อค้ำ รับจ้ำง ชำวนำ เป็นต้น
แม้กำรบังคับใช้แรงงำนนั้นเป็นกิจกรรมที่มีควำมอันตรำยน้อยกว่ำกำรถูกเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบโดยเปรียบเทียบ
กระนั้นก็ดี กำรบังคับใช้แรงงำนนั้นก็ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของผู้คนเช่นเดียวกัน เพรำะท�ำให้วิถีชีวิตตำมปกติของพวก
เขำถูกขัดจังหวะ ถูกบังคับให้ไปท�ำงำน สภำพกำรณ์ดังกล่ำวได้ผลักดันให้ผู้คนตัดสินใจเลือกที่จะหลบหนี
32 33
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว